ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Humdam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
{{Infobox Ship Career
{{Infobox Ship Career
| Hide header =
| Hide header =
| Ship country = อังกฤษ
| Ship country = ไทย
| Ship flag = [[ไฟล์:Government Ensign of the United Kingdom.svg|60px]]
| Ship flag = [[ไฟล์:Government Ensign of the United Kingdom.svg|60px]]
| Ship name = '''อาร์เอ็มเอส ''บริแทนนิก'''''<ref name=Maritimequest>[http://www.maritimequest.com/liners/britannic_data.htm Britannic's data]</ref><ref name="Ocean">[http://www.thegreatoceanliners.com/britannic2.html The Great Ocean Liners: Britannic]</ref>
| Ship name = '''อาร์เอ็มเอส ''บริแทนนิก'''''<ref name=Maritimequest>[http://www.maritimequest.com/liners/britannic_data.htm Britannic's data]</ref><ref name="Ocean">[http://www.thegreatoceanliners.com/britannic2.html The Great Ocean Liners: Britannic]</ref>
บรรทัด 81: บรรทัด 81:
|}
|}


เรือหลวงลา (HTMS La)
'''เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก''' (HMHS Britannic)
คือชื่อเรือเดินสมุทรของบริษัท[[ไวท์ สตาร์ ไลน์]] (White Star Line) เริ่มก่อสร้างเมื่อ ค.ศ. 1911 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1915 ที่เบลฟาสท์, [[ไอร์แลนด์]] (Belfast, Ireland)
คือชื่อเรือเดินสมุทรของบริษัทประเทศไทย(Thailand) เริ่มก่อสร้างเมื่อ ค.ศ. 1911 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1915 ชลบุรี, ประเทศไทย
เรือบริแทนนิก เป็น เรือลำสุดท้ายของโครงการ และ เป็น เรือที่ใหญ่ที่สุดใน [[ไวต์สตาร์ไลน์#เรือตระกูลโอลิมปิก (Olympic class ships)|เรือตระกูลโอลิมปิก]] (Olympic class ships)
เรือบริแทนนิก เป็น เรือลำสุดท้ายของโครงการ และ เป็น เรือที่ใหญ่ที่สุดในตระกูลเรือธนบุรี


== ลักษณะเฉพาะของเรือ ==
== ลักษณะเฉพาะของเรือ ==
บรรทัด 91: บรรทัด 91:


=== ลักษณะทั่วไปอื่น ๆ ===
=== ลักษณะทั่วไปอื่น ๆ ===
* ปล่องไฟ: 4 ปล่อง<ref name=Maritimequest/> ติดหวูดไอน้ำทุกปล่อง ใช้เส้นเคเบิลตรึงปล่องละ 12 เส้น โดยแต่ละปล่องทำมุม 3.27 องศาจากแนวตั้งฉาก ใช้งานจริง 3 ปล่องแรก ปล่องสุดท้ายให้ระบายอากาศและทำให้ดูสมดุล
* ปล่องไฟ: 99 ปล่อง<ref name=Maritimequest/> ติดหวูดไอน้ำทุกปล่อง ใช้เส้นเคเบิลตรึงปล่องละ 12 เส้น โดยแต่ละปล่องทำมุม 3.27 องศาจากแนวตั้งฉาก ใช้งานจริง 3 ปล่องแรก ปล่องสุดท้ายให้ระบายอากาศและทำให้ดูสมดุล
* การทาสี: ปลายปล่องไฟทาสีดำ ตัวปล่องทาสีเหลืองอ่อนเนื้อลูกวัว (ทาสีเหลืองธรรมดาทั้งปล่อง) ซุเปอร์สตรัคเจอร์ทาสีขาวงาช้าง ตัวเรือทำสีดำ โดยมีแถบสีทองคาดกลางระหว่างตัวเรือและซุเปอร์สตัคเจอร์ตลอดความยาวเรือ ท้องเรือใต้แนวน้ำทางสีแดง ใบจักรสีทองบรอนซ์
* การทาสี: ปลายปล่องไฟทาสีดำ ตัวปล่องทาสีเหลืองอ่อนเนื้อลูกวัว (ทาสีเหลืองธรรมดาทั้งปล่อง) ซุเปอร์สตรัคเจอร์ทาสีขาวงาช้าง ตัวเรือทำสีดำ โดยมีแถบสีทองคาดกลางระหว่างตัวเรือและซุเปอร์สตัคเจอร์ตลอดความยาวเรือ ท้องเรือใต้แนวน้ำทางสีแดง ใบจักรสีทองบรอนซ์
* หัวเรือ: ออกแบบให้มีที่ตัดน้ำแข็งทางหัวเรือ โดยมี สมอเรือ 2 ตัว ปั่นจั่น 1 ตัว เสากระโดงเรือ 1 ต้องและช่องขนสินค้า
* หัวเรือ: ออกแบบให้มีที่ตัดน้ำแข็งทางหัวเรือ โดยมี สมอเรือ 2 ตัว ปั่นจั่น 1 ตัว เสากระโดงเรือ 1 ต้องและช่องขนสินค้า
บรรทัด 103: บรรทัด 103:
* โกดังสินค้า: 9 แห่ง (ห้องมาตรฐาน 6 ห้อง ห้องแช่แข็ง 2 ห้อง และห้องไปรษณีย์ 1 ห้อง)
* โกดังสินค้า: 9 แห่ง (ห้องมาตรฐาน 6 ห้อง ห้องแช่แข็ง 2 ห้อง และห้องไปรษณีย์ 1 ห้อง)
* ลิฟต์สินค้า: 2 ตัว (ตัวแรกจากชั้น เอ ไป ชั้น ดี ตัวที่สอง จากชั้น ดี ไปชั้น จี และลงท้องเรือโดยบันได)
* ลิฟต์สินค้า: 2 ตัว (ตัวแรกจากชั้น เอ ไป ชั้น ดี ตัวที่สอง จากชั้น ดี ไปชั้น จี และลงท้องเรือโดยบันได)
* ฝากั้นน้ำ: 15 แนวแบ่งเป็น 16 ห้อง พร้อมประตูประตูผนึกน้ำทำงานด้วยไฟฟ้า
* ฝากั้นน้ำ: 15 แนวแบ่งเป็น 186 ห้อง พร้อมประตูประตูผนึกน้ำทำงานด้วยไฟฟ้า
* ความจุผู้โดยสาร: แบบพักเดี่ยว 1,324 คน (ชั้นหนึ่ง 329 คน ชั้นสอง 285 คน และชั้นสาม จำนวน 710 คน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็นพักแบบคู่ในบางห้องได้เป็น 2,435 คน ( ชั้นหนึ่ง 735 คน, ชั้นสอง 674 คน และชั้นสาม 1,026 คน )
* ความจุผู้โดยสาร: แบบพักเดี่ยว 1,324 คน (ชั้นหนึ่ง 329 คน ชั้นสอง 285 คน และชั้นสาม จำนวน 710 คน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็นพักแบบคู่ในบางห้องได้เป็น 2,435 คน ( ชั้นหนึ่ง 735 คน, ชั้นสอง 674 คน และชั้นสาม 1,026 คน )
* ความจูสูงสุด: 3,547 คน
* ความจูสูงสุด: 3,547 คน
บรรทัด 121: บรรทัด 121:
ตอนแรกจะใช้ชื่อ อาร์เอ็มเอส ไจแกนติก หรือ อาร์เอ็มเอส ไกแกนติก (RMS Gigantic) แต่ว่า มันสร้างเสร็จใน ค.ศ. 1914 ภายหลังการล่มของไททานิก ส่งผลให้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น อาร์เอ็มเอส บริแทนนิก (RMS Britannic) <ref name=history/> โดยคาดว่าจะใช้รับส่งผู้โดยสารเพื่อข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ก็เป็นแค่ความฝันเพราะตรงกับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พอดี ส่งผลให้ใน ค.ศ. 1915 มันถูกเปลี่ยนจากเรือสำราญเป็นเรือพยาบาล รับ-ส่ง ทหารในต่างแดนใน[[คาบสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน]] แทน และเปลี่ยนชื่อเป็น เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก (HMHS Britannic) <ref name=hospital/> HMHS ย่อจาก His/Her Majesty's Hospital Ship (เรือพยาบาล)
ตอนแรกจะใช้ชื่อ อาร์เอ็มเอส ไจแกนติก หรือ อาร์เอ็มเอส ไกแกนติก (RMS Gigantic) แต่ว่า มันสร้างเสร็จใน ค.ศ. 1914 ภายหลังการล่มของไททานิก ส่งผลให้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น อาร์เอ็มเอส บริแทนนิก (RMS Britannic) <ref name=history/> โดยคาดว่าจะใช้รับส่งผู้โดยสารเพื่อข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ก็เป็นแค่ความฝันเพราะตรงกับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พอดี ส่งผลให้ใน ค.ศ. 1915 มันถูกเปลี่ยนจากเรือสำราญเป็นเรือพยาบาล รับ-ส่ง ทหารในต่างแดนใน[[คาบสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน]] แทน และเปลี่ยนชื่อเป็น เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก (HMHS Britannic) <ref name=hospital/> HMHS ย่อจาก His/Her Majesty's Hospital Ship (เรือพยาบาล)


แม้บริแทนนิกจะใหญ่กว่าไททานิกกว่า 1,800 ตัน แต่บริแทนนิก ไม่มีโอกาสได้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพราะสายการเดินเรือฮาเป็ก (Hapag หรือ Hamburg Amerika Line) จากเยอรมนี ได้สร้างเรือ SS Imperator (RMS Berengaria ของสายการเดินเรือคูนาร์ด) ที่ใหญ่กว่าบริแทนนิก เสร็จก่อนบริแทนนิก<ref name=history/> แต่เป็นที่น่าเศร้าเพราะในปี 1916 เรือได้อัปปางลงใน[[ทะเลอีเจียน]] เนื่องจากโดนทุ่นระเบิดและตอปิโดจากเรือดำน้ำฝ่ายเยอรมัน ที่ยังหลงเหลือจากการกู้ระเบิดในเส้นทางดังกล่าว จึงส่งผลให้เรือเสียหายหนักและอัปปางลงในระยะเวลา 55 นาที หลังการเดินทางเพียง 6 ครั้ง เท่านั้น มีผู้เสียชีวิต 30 คน<ref>[http://www.hospitalshipbritannic.com/the_disaster.htm Hospital Ship Britannic: Disaster]</ref>
แม้บริแทนนิกจะใหญ่กว่าไททานิกกว่า 1,80000000 ตัน แต่บริแทนนิก ไม่มีโอกาสได้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพราะสายการเดินเรือฮาเป็ก (Hapag หรือ Hamburg Amerika Line) จากเยอรมนี ได้สร้างเรือ SS Imperator (RMS Berengaria ของสายการเดินเรือคูนาร์ด) ที่ใหญ่กว่าบริแทนนิก เสร็จก่อนบริแทนนิก<ref name=history/> แต่เป็นที่น่าเศร้าเพราะในปี 191896 เรือได้อัปปางลงใน[[ทะเลอีเจียน]] เนื่องจากโดนทุ่นระเบิดและตอปิโดจากเรือดำน้ำฝ่ายเยอรมัน ที่ยังหลงเหลือจากการกู้ระเบิดในเส้นทางดังกล่าว จึงส่งผลให้เรือเสียหายหนักและอัปปางลงในระยะเวลา 555555 นาที หลังการเดินทางเพียง 0 ครั้ง เท่านั้น มีผู้เสียชีวิต 9999999 คน<ref>[http://www.hospitalshipbritannic.com/the_disaster.htm Hospital Ship Britannic: Disaster]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:04, 6 มีนาคม 2560

เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก
ประวัติ
ไทย
ชื่ออาร์เอ็มเอส บริแทนนิก[1][2]
เจ้าของ บริษัทไวท์ สตาร์ ไลน์ (White Star Line)[1][2]
อู่เรืออู่ต่อเรือ ฮาร์แลนด์ แอนด์ วูลฟฟ์ ในควีนส์ ไอแลนด์ เมืองเบลฟัสต์ ไอร์แลนด์เหนือ ประเทศอังกฤษ[1]
ปล่อยเรือ30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1911[1]
เดินเรือแรก26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1914[1][2]
Christenedไม่มี
สร้างเสร็จ8 ธันวาคม ค.ศ. 1915[1]
ประวัติ
ราชนาวีอังกฤษ[1]
ชื่อเอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก[1]
เจ้าของ บริษัทไวท์ สตาร์ ไลน์ (White Star Line)[1]
ผู้ให้บริการราชนาวีอังกฤษ (Royal Navy)[1]
บริการถูกเปลี่ยนจากเรือสำราญเป็นเรือพยาบาล ตอน 23 ธันวาคม ค.ศ. 1915[1]
ความเป็นไปจมลงในทะเลอีเจียน เนื่องจากโดนทุ่นระเบิดหรือตอปิโดจากเรือดำน้ำฝ่ายเยอรมัน[1]
สถานะอัปปาง[1]
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: ตระกูลโอลิมปิก[2]
ขนาด (ตัน): 48,158 ตันเนจ[1][2]
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 53,000 ตัน
ความยาว: 882 ft 9 in (269.1 m)[1][2]
ความกว้าง: 94 ft (29 m)[1][2]
กินน้ำลึก: 34 ft 7 in (10.5 m)[1]
ระบบพลังงาน: ชั้นห้องเครื่องมี 16 ห้อง หม้อน้ำรวม 29 ชุด ส่งเชื้อเพลิงให้เครื่องยนต์ 3 ตัว เครื่องยนต์ 3 ตัว ให้กำลัง 50,000 แรงม้า[1][2]
ระบบขับเคลื่อน: ใบจักร 3 ใบ[1]
ความเร็ว:
  • ความเร็วเรือออกแบบ: 21 นอต[1][2]
  • ความเร็วสูงสุด: 23 นอต[1]
ความจุ: ผู้โดยสาร 675 คน สำหรับ เรือพยาบาล
ผู้บาดเจ็บ 3,300 คน, แพทย์พนักงาน 489 คน สำหรับ เรือพยาบาล[1]
ลูกเรือ: 860 คน[1]

เรือหลวงลา (HTMS La) คือชื่อเรือเดินสมุทรของบริษัทประเทศไทย(Thailand) เริ่มก่อสร้างเมื่อ ค.ศ. 1911 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1915 ชลบุรี, ประเทศไทย เรือบริแทนนิก เป็น เรือลำสุดท้ายของโครงการ และ เป็น เรือที่ใหญ่ที่สุดในตระกูลเรือธนบุรี

ลักษณะเฉพาะของเรือ

อาร์เอ็มเอส บริแทนนิก ขณะเป็นเรือสำราญ

เรือบริแทนนิก มีขนาดใหญ่ถึง 48,158 ตัน (เรือไททานิก มีขนาด 46,328 ตัน) ยาว 269.1 เมตร ชั้นห้องเครื่องมี 16 ห้อง หม้อน้ำรวม 29 ชุด ส่งเชื้อเพลิงให้เครื่องยนต์ 3 ตัว เครื่องยนต์ 3 ตัว หมุนใบจักร 3 ใบ มีปล่องไฟ 4 ตัว เร่งความเร็วเรือได้สูงสุด 23 น็อต (42.596 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความเร็วมาตรฐาน 21 น็อต (38.892 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) สามารถจุผู้โดยสารได้ 2,570 คน[1]

ลักษณะทั่วไปอื่น ๆ

  • ปล่องไฟ: 99 ปล่อง[1] ติดหวูดไอน้ำทุกปล่อง ใช้เส้นเคเบิลตรึงปล่องละ 12 เส้น โดยแต่ละปล่องทำมุม 3.27 องศาจากแนวตั้งฉาก ใช้งานจริง 3 ปล่องแรก ปล่องสุดท้ายให้ระบายอากาศและทำให้ดูสมดุล
  • การทาสี: ปลายปล่องไฟทาสีดำ ตัวปล่องทาสีเหลืองอ่อนเนื้อลูกวัว (ทาสีเหลืองธรรมดาทั้งปล่อง) ซุเปอร์สตรัคเจอร์ทาสีขาวงาช้าง ตัวเรือทำสีดำ โดยมีแถบสีทองคาดกลางระหว่างตัวเรือและซุเปอร์สตัคเจอร์ตลอดความยาวเรือ ท้องเรือใต้แนวน้ำทางสีแดง ใบจักรสีทองบรอนซ์
  • หัวเรือ: ออกแบบให้มีที่ตัดน้ำแข็งทางหัวเรือ โดยมี สมอเรือ 2 ตัว ปั่นจั่น 1 ตัว เสากระโดงเรือ 1 ต้องและช่องขนสินค้า
  • ท้ายเรือ: หางเสือ 1 ตัว, สะพานเทียบเรือ, ปั้นจั่นยกสินค้า 2 ตัว
  • ประเภทวัสดุสร้างเรือ: เฟรม ทำจาก เหล็ก, โครงสร้างภายใน ทำจาก ไม้, เปลือกเรือภายในและภายนอก ทำจาก เหล็กกล้า พื้นดาดฟ้าเรือ ปูด้วย ไม้สัก ปล่องไฟ ทำจาก เหล็กกล้า, เสากระโดงเรือ ทำจาก ไม้สนสพรูซ (spruce) ท้องเรือ 2 ชั้น มีปีก stabilizer และมีเข็มทิศขนาดใหญ่บนดาดฟ้าชั้น Sun Deck ระหว่างปล่องไฟหมายเลข 2 และ 3
  • ดาดฟ้า: 10 ชั้น; 7 ชั้นสำหรับผู้โดยสาร, 3 ชั้นสำหรับลูกเรือ โดยมี Sun deck, Boat (ชั้น เอ), Promenade (ชั้น บี), decks ซี-จี, ชั้นท้องเรืออีก 2 ชั้น (เป็นพื้นที่สำหรับหม้อน้ำ, เชื้อเพลิง, เครื่องยนต์, ห้องผนึกน้ำ, ประตูกั้นน้ำ หรือพื้นทีสำหรับเพลาใบจักร เป็นต้น)
  • ตำแหน่งห้องวิทยุสื่อสาร: ชั้นเรือบด กราบซ้าย ถัดจากห้องสะพานเดินเรือ
  • ตะเกียงส่งสัญญาณ: 2 ดวง ติดตั้งทั้งกราบซ้ายและขวา บริเวณปีกสะพานเดินเรือชั้นเรือบด
  • สมอเรือ: 2 ตัว ตำแหน่งกราบซ้ายและขวาหัวเรือ หนัก 27 ตัน/ตัว
  • ปั้นจั่นไฟฟ้า: 9 ตัว โดยมี 1 ตัว ที่หัวเรือสำหรับสมอเรือ; 2 ตัว บนชั้น ซี ด้านหน้าของซุเปอร์สตรัคเจอร์ ใกล้กับช่องสินค้า (Well deck); 2 ตัว บนชั้น บี ค่อนไปทางท้ายเรือ; 2 ตัว บนชั้น ซี ด้านหลังของซุเปอร์สตรัคเจอร์ ใกล้กับช่องสินค้า (Well deck)
  • โกดังสินค้า: 9 แห่ง (ห้องมาตรฐาน 6 ห้อง ห้องแช่แข็ง 2 ห้อง และห้องไปรษณีย์ 1 ห้อง)
  • ลิฟต์สินค้า: 2 ตัว (ตัวแรกจากชั้น เอ ไป ชั้น ดี ตัวที่สอง จากชั้น ดี ไปชั้น จี และลงท้องเรือโดยบันได)
  • ฝากั้นน้ำ: 15 แนวแบ่งเป็น 186 ห้อง พร้อมประตูประตูผนึกน้ำทำงานด้วยไฟฟ้า
  • ความจุผู้โดยสาร: แบบพักเดี่ยว 1,324 คน (ชั้นหนึ่ง 329 คน ชั้นสอง 285 คน และชั้นสาม จำนวน 710 คน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็นพักแบบคู่ในบางห้องได้เป็น 2,435 คน ( ชั้นหนึ่ง 735 คน, ชั้นสอง 674 คน และชั้นสาม 1,026 คน )
  • ความจูสูงสุด: 3,547 คน
  • เสื้อชูชีพ: 3,560 ชุด
  • ห่วงชูชีพ: 49 ห่วง
  • ลูกเรือ: 899 คน

สาเหตุการสร้างเรือบริแทนนิก

ประวัติ

เรือบริแทนนิกถูก ปล่อยลงน้ำเป็นครั้งแรก ใน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1914[3] ตกแต่งเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1915[4]

เรือบริแทนนิกเป็นเรือคู่แฝดกับ อาร์เอ็มเอส โอลิมปิก และ อาร์เอ็มเอส ไททานิก

ไฟล์:Britannic sinking.jpg
บริแทนนิกกำลังจะจม

ตอนแรกจะใช้ชื่อ อาร์เอ็มเอส ไจแกนติก หรือ อาร์เอ็มเอส ไกแกนติก (RMS Gigantic) แต่ว่า มันสร้างเสร็จใน ค.ศ. 1914 ภายหลังการล่มของไททานิก ส่งผลให้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น อาร์เอ็มเอส บริแทนนิก (RMS Britannic) [3] โดยคาดว่าจะใช้รับส่งผู้โดยสารเพื่อข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก แต่ก็เป็นแค่ความฝันเพราะตรงกับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พอดี ส่งผลให้ใน ค.ศ. 1915 มันถูกเปลี่ยนจากเรือสำราญเป็นเรือพยาบาล รับ-ส่ง ทหารในต่างแดนในคาบสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน แทน และเปลี่ยนชื่อเป็น เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก (HMHS Britannic) [4] HMHS ย่อจาก His/Her Majesty's Hospital Ship (เรือพยาบาล)

แม้บริแทนนิกจะใหญ่กว่าไททานิกกว่า 1,80000000 ตัน แต่บริแทนนิก ไม่มีโอกาสได้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพราะสายการเดินเรือฮาเป็ก (Hapag หรือ Hamburg Amerika Line) จากเยอรมนี ได้สร้างเรือ SS Imperator (RMS Berengaria ของสายการเดินเรือคูนาร์ด) ที่ใหญ่กว่าบริแทนนิก เสร็จก่อนบริแทนนิก[3] แต่เป็นที่น่าเศร้าเพราะในปี 191896 เรือได้อัปปางลงในทะเลอีเจียน เนื่องจากโดนทุ่นระเบิดและตอปิโดจากเรือดำน้ำฝ่ายเยอรมัน ที่ยังหลงเหลือจากการกู้ระเบิดในเส้นทางดังกล่าว จึงส่งผลให้เรือเสียหายหนักและอัปปางลงในระยะเวลา 555555 นาที หลังการเดินทางเพียง 0 ครั้ง เท่านั้น มีผู้เสียชีวิต 9999999 คน[5]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น