ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟูฟู (สุนัข)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบไฟล์:Crown Prince Vajiralongkorn, Foofoo and Mom Srirasmi.jpgด้วยบอต เพราะถูกแจ้งลบ ([[คุยเรื่องไฟล์:Crown Prince Vajiralongkorn, Foofoo and Mom Srirasmi.j...
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
ฟูฟู ปรากฏตัวต่อสาธารณชนในการประกวดสุนัขหลายรายการ เคยได้ตำแหน่งรางวัลชนะเลิศประเภทมิตรแท้ และรองชนะเลิศอันดับสองประเภทสวยงามตามสายพันธุ์ ในการเข้าประกวดงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2543 และในปี 2544 ก็ได้รางวัลชนะเลิศประเภทสวยงามและความสามารถพิเศษ พร้อมกับรางวัลชนะเลิศประเภทขนสวยที่สุด โดยมิได้เปิดเผยว่าเป็นสุนัขทรงเลี้ยงแต่อย่างใด<ref name="ฟูฟู"/> และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ฟูฟูปรากฏตัวในงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทยที่จัดขึ้นใน[[จังหวัดนครปฐม]] ซึ่งได้รับคำชื่นชมว่าเป็นสุนัขที่ "สวยสง่าและฉลาดหลักแหลมยิ่ง"<ref>{{cite news|url=http://www.nationmultimedia.com/2006/12/16/headlines/headlines_30021708.php|title=Tongdaeng progeny put through paces|date=16 December 2006|accessdate=5 February 2015|work=The Nation|location=Bangkok}}</ref> หลัง[[การรั่วไหลของโทรเลขภายในสหรัฐอเมริกา]]เมื่อปี พ.ศ. 2549 [[วิกิลีกส์]]ได้เผยแพร่ข้อมูลว่าฟูฟูได้รับการแต่งตั้งให้มียศเป็น "พลอากาศเอก" ประจำ[[กองทัพอากาศไทย]]<ref name="Guardian">{{cite news|url=http://www.theguardian.com/world/2015/feb/05/thai-crown-prince-pet-poodle-air-chief-marshal-foo-foo-cremated|title=Thai crown prince's poodle, Air Chief Marshal Foo Foo, has been cremated|first=Andrew MacGregor|last=Marshall|work=The Guardian|location=London|date=5 February 2015|accessdate=5 February 2015}}</ref>
ฟูฟู ปรากฏตัวต่อสาธารณชนในการประกวดสุนัขหลายรายการ เคยได้ตำแหน่งรางวัลชนะเลิศประเภทมิตรแท้ และรองชนะเลิศอันดับสองประเภทสวยงามตามสายพันธุ์ ในการเข้าประกวดงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2543 และในปี 2544 ก็ได้รางวัลชนะเลิศประเภทสวยงามและความสามารถพิเศษ พร้อมกับรางวัลชนะเลิศประเภทขนสวยที่สุด โดยมิได้เปิดเผยว่าเป็นสุนัขทรงเลี้ยงแต่อย่างใด<ref name="ฟูฟู"/> และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ฟูฟูปรากฏตัวในงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทยที่จัดขึ้นใน[[จังหวัดนครปฐม]] ซึ่งได้รับคำชื่นชมว่าเป็นสุนัขที่ "สวยสง่าและฉลาดหลักแหลมยิ่ง"<ref>{{cite news|url=http://www.nationmultimedia.com/2006/12/16/headlines/headlines_30021708.php|title=Tongdaeng progeny put through paces|date=16 December 2006|accessdate=5 February 2015|work=The Nation|location=Bangkok}}</ref> หลัง[[การรั่วไหลของโทรเลขภายในสหรัฐอเมริกา]]เมื่อปี พ.ศ. 2549 [[วิกิลีกส์]]ได้เผยแพร่ข้อมูลว่าฟูฟูได้รับการแต่งตั้งให้มียศเป็น "พลอากาศเอก" ประจำ[[กองทัพอากาศไทย]]<ref name="Guardian">{{cite news|url=http://www.theguardian.com/world/2015/feb/05/thai-crown-prince-pet-poodle-air-chief-marshal-foo-foo-cremated|title=Thai crown prince's poodle, Air Chief Marshal Foo Foo, has been cremated|first=Andrew MacGregor|last=Marshall|work=The Guardian|location=London|date=5 February 2015|accessdate=5 February 2015}}</ref>


ในปี พ.ศ. 2550 ฟูฟูตกเป็นที่สนใจของประชาชน จากการปรากฏตัวในวีดิทัศน์ที่รั่วไหลอันเผยให้เห็นท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ซึ่งขณะนั้นเป็นหม่อม ป้อนเค้กวันเกิดแก่ฟูฟู ทั้งที่เปลือยกายและสวมเพียง[[จี-สตริง]]<ref>{{cite news|title=How future queen of Thailand (wearing only a tiny G-string) let her poodle Foo Foo eat cake: As coup rocks Bangkok, video reveals royal couple's decadent lifestyle|url=http://www.dailymail.co.uk/news/article-2638352/How-future-queen-Thailand-wearing-tiny-G-string-let-poodle-Foo-Foo-eat-cake-As-coup-rocks-Bangkok-video-reveals-royal-couples-decadent-lifestyle.html|first=Caroline|last=Graham|work=Daily Mail|date=24 May 2014|accessdate=5 February 2015}}</ref> มีการสันนิษฐานว่าวีดิทัศน์ดังกล่าวถูกเผยแพร่โดยฝั่งที่อยู่ตรงข้ามกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพราะถือเป็นเรื่องละเอียดอ่อนในไทย และเป็นการต่อสู้ภายในเพื่อความชอบธรรมในสืบราชสมบัติช่วงที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงพระประชวร<ref name="Guardian" />


จากการรั่วไหลของโทรเลขภายในถึงกรุงวอชิงตันที่วิกิลีกส์ได้นำมาเผยแพร่ต่อ ให้ข้อมูลว่าไม่กี่เดือนหลังจากนั้น [[:en:Ralph L. Boyce|ราล์ฟ แอล. บอยซ์]] (Ralph L. Boyce) เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ได้ร่วมงานเลี้ยงอาหารเพื่อเป็นเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ที่มีฟูฟูปรากฏตัว "แต่งกายอย่างพิธีการสำหรับงานราตรี และสวมถุงเท้าอย่างเรียบร้อย..."<ref name="Guardian" /> และ "...ในตอนหนึ่งขณะที่วงดนตรีกำลังเล่นเพลงที่สอง เขากระโดดขึ้นไปบนหัวโต๊ะแล้วเริ่มเลียน้ำจากแก้วของแขกเหรื่อรวมทั้งของตัวกระผมด้วย การแสดงตลกของพลอากาศเอกท่านนี้สร้างความสนใจแก่ผู้ร่วมงานกว่า 600 คนไปเต็ม ๆ และเป็นยังคงเป็นเรื่องที่พูดถึงมาจนทุกวันนี้"<ref name="Guardian" />


ฟูฟู ตายเมื่อต้นปี พ.ศ. 2558 โดยมีพิธีสวดอย่างพุทธศาสนาสี่วันก่อนฌาปนกิจ ซึ่งภาพพิธีดังกล่าวนั้นได้รับการส่งต่ออย่างแพร่หลายในสื่อสังคมออนไลน์ของไทย และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างอ้อม ๆ ซึ่งสะท้อนถึงความกังวลต่อผู้สืบราชสมบัติที่ไม่สามารถวิพากษ์วิจารณ์ได้อย่างเปิดเผยในประเทศไทยเพราะอาจเป็นการ[[ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์|หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]]อันมีบทลงโทษที่เข้มงวด<ref name="Guardian" />
ฟูฟู ตายเมื่อต้นปี พ.ศ. 2558 โดยมีพิธีสวดอย่างพุทธศาสนาสี่วันก่อนฌาปนกิจ ซึ่งภาพพิธีดังกล่าวนั้นได้รับการส่งต่ออย่างแพร่หลายในสื่อสังคมออนไลน์ของไทย และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างอ้อม ๆ ซึ่งสะท้อนถึงความกังวลต่อผู้สืบราชสมบัติที่ไม่สามารถวิพากษ์วิจารณ์ได้อย่างเปิดเผยในประเทศไทยเพราะอาจเป็นการ[[ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์|หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ]]อันมีบทลงโทษที่เข้มงวด<ref name="Guardian" />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:12, 16 ตุลาคม 2559

ฟูฟู (15 มิถุนายน พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2558) เป็นสุนัขทรงเลี้ยงในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ถือเป็นสุนัขทรงเลี้ยงตัวโปรดที่จะปรากฏตัวพร้อมพระองค์ในพระราชพิธีสำคัญ รวมทั้งการเดินแบบและแสดงความสามารถพิเศษบ่อยครั้ง[1]

ประวัติ

ฟูฟู เป็นสุนัขพันธุ์พูเดิลเพศผู้ เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2540 เดิมเป็นสุนัขของผู้เพาะพันธุ์สุนัขในตลาดนัดสวนจตุจักรที่ได้ถวายสุนัขนี้ขณะมีอายุหนึ่งเดือนแด่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคมปีเดียวกัน ด้วยสุนัขนี้มีลักษณะเด่นคือมีขนสีขาวแน่นและฟูฟ่อง จึงประทานชื่อว่า "ฟูฟู" และนำไปอำรุงเลี้ยงที่พระตำหนักนนทบุรีระยะหนึ่ง โดยมิได้ใกล้ชิดฟูฟูเท่าใดด้วยมีสุนัขทรงเลี้ยงอยู่แล้วหลายตัว[2] แม้ฟูฟูจะน่ารักน่าชังแต่ก็มีสุขภาพที่อ่อนแอมาก เบื้องต้นจึงตกอยู่ในการดูแลของเจ้าหน้าที่ในพระตำหนัก[3] ต่อมาท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี ที่ขณะนั้นยังเป็นหม่อม ได้เอ็นดูสุนัขนี้จึงนำไปเลี้ยงดูอย่างใกล้ชิด จนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร มีพระเมตตาโปรดเกล้าฯ รับฟูฟูเป็นสุนัขทรงเลี้ยงโดยมีท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ร่วมดูแล จนฟูฟูอายุได้สองเดือนจึงได้รับการฝึกสอนต่าง ๆ และสามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วกว่าสุนัขตัวอื่น[2]

ฟูฟู ปรากฏตัวต่อสาธารณชนในการประกวดสุนัขหลายรายการ เคยได้ตำแหน่งรางวัลชนะเลิศประเภทมิตรแท้ และรองชนะเลิศอันดับสองประเภทสวยงามตามสายพันธุ์ ในการเข้าประกวดงานวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2543 และในปี 2544 ก็ได้รางวัลชนะเลิศประเภทสวยงามและความสามารถพิเศษ พร้อมกับรางวัลชนะเลิศประเภทขนสวยที่สุด โดยมิได้เปิดเผยว่าเป็นสุนัขทรงเลี้ยงแต่อย่างใด[2] และในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ฟูฟูปรากฏตัวในงานมหกรรมสัตว์เลี้ยงแห่งประเทศไทยที่จัดขึ้นในจังหวัดนครปฐม ซึ่งได้รับคำชื่นชมว่าเป็นสุนัขที่ "สวยสง่าและฉลาดหลักแหลมยิ่ง"[4] หลังการรั่วไหลของโทรเลขภายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2549 วิกิลีกส์ได้เผยแพร่ข้อมูลว่าฟูฟูได้รับการแต่งตั้งให้มียศเป็น "พลอากาศเอก" ประจำกองทัพอากาศไทย[5]


ฟูฟู ตายเมื่อต้นปี พ.ศ. 2558 โดยมีพิธีสวดอย่างพุทธศาสนาสี่วันก่อนฌาปนกิจ ซึ่งภาพพิธีดังกล่าวนั้นได้รับการส่งต่ออย่างแพร่หลายในสื่อสังคมออนไลน์ของไทย และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างอ้อม ๆ ซึ่งสะท้อนถึงความกังวลต่อผู้สืบราชสมบัติที่ไม่สามารถวิพากษ์วิจารณ์ได้อย่างเปิดเผยในประเทศไทยเพราะอาจเป็นการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพอันมีบทลงโทษที่เข้มงวด[5]

ลูก

ฟูฟู มีลูกกับแนปปี้[6] หรือแนตตี้ สุนัขพูเดิลเพศเมียของอัมภาพร พิสุทธิกุล ที่สัตวแพทย์พบว่าสุนัขเพศเมียตัวนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับฟูฟู จึงนำความกราบทูลสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารทอดพระเนตร หลังจากนั้นจึงรับสั่งสอบถามเพื่อให้มาผสมกับฟูฟู จนมีลูกสามตัว เป็นเพศผู้ คือ ฟุ้งฟุ้งกับเฟื่อง และเป็นเพศเมียชื่อ ฟ้า[2]

อ้างอิง

  1. "2 สุนัขทรงเลี้ยงโชว์ความสามารถสุดประทับใจ". ผู้จัดการออนไลน์. 31 มกราคม 2553. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "คุณ "ฟูฟู" สุนัขทรงเลี้ยงในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ". พัน. ปจว. กองพันปฏิบัติการจิตวิทยา. สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "The Week That Was : Playful Palace poodle piques pet-loving Prince". The Nation. Bangkok. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
  4. "Tongdaeng progeny put through paces". The Nation. Bangkok. 16 December 2006. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
  5. 5.0 5.1 Marshall, Andrew MacGregor (5 February 2015). "Thai crown prince's poodle, Air Chief Marshal Foo Foo, has been cremated". The Guardian. London. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015.
  6. "เปิดตัว 3 สุนัขทรงเลี้ยงแสนรู้ "คุณฟุ้งฟุ้ง คุณเบบี้และคุณแอสโก้"". ผู้จัดการออนไลน์. 31 กรกฎาคม 2548. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)