ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ควัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pimpahka Tongsuk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pimpahka Tongsuk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
ควันดำ คืออนุภาคของถ่านหรือคาร์บอนที่มีลักษณะเป็นผงและเขม่าเล็ก ๆ ที่เหลือจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ ที่ใช้น้ำมันดีเซลเป็นมาส่วนใหญ่ เช่น รถเมล์ รถปิกอัพดีเซล รถที่มีขนาดใหญ่ทั่วๆไป และจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งควันดำนอกจากจะบดบังยังส่งผลต่อการมองเห็นและเกิดความสกปรกและยังสามารถเข้าไปสู่ปอดโดยการหายใจอีกด้วย และสะสมอยู่ในถุงลมปอดซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง หรือเป็นตัวนำสารให้เกิดโรคมะเร็งปอดและทำให้หลอดลมอักเสบได้<br>
ควันดำ คืออนุภาคของถ่านหรือคาร์บอนที่มีลักษณะเป็นผงและเขม่าเล็ก ๆ ที่เหลือจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ ที่ใช้น้ำมันดีเซลเป็นมาส่วนใหญ่ เช่น รถเมล์ รถปิกอัพดีเซล รถที่มีขนาดใหญ่ทั่วๆไป และจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งควันดำนอกจากจะบดบังยังส่งผลต่อการมองเห็นและเกิดความสกปรกและยังสามารถเข้าไปสู่ปอดโดยการหายใจอีกด้วย และสะสมอยู่ในถุงลมปอดซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง หรือเป็นตัวนำสารให้เกิดโรคมะเร็งปอดและทำให้หลอดลมอักเสบได้<br>
ควันขาว เกิดจากเครื่องยนต์ที่ไม่ได้รับการบำรุงรักษาอย่างดี โดยเฉพาะรถจักยานยนต์เก่าๆ
ควันขาว เกิดจากเครื่องยนต์ที่ไม่ได้รับการบำรุงรักษาอย่างดี โดยเฉพาะรถจักยานยนต์เก่าๆ
ควันขาวคือสารไฮโดรคาร์บอนหรือน้ำมัน เป็นเชื้อเพลิงที่ยังไม่ถูกเผาไหม้ แล้วมีการปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย โดยที่สารไฮโดรคาร์บอนนี้เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะเกิดปฏิกิริยาในการสร้างก๊าซโอโซนซึ่งเป็นพิษภัยที่มีความรุนแรง
ควันขาวคือสารไฮโดรคาร์บอนหรือน้ำมัน เป็นเชื้อเพลิงที่ยังไม่ถูกเผาไหม้ แล้วมีการปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย โดยที่สารไฮโดรคาร์บอนนี้เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะเกิดปฏิกิริยาในการสร้างก๊าซโอโซนซึ่งเป็นพิษภัยที่มีความรุนแรง<br>
"สารพิษที่อยู่ในควันไฟที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่เกิดเพลิงไหม้ที่สำคัญ" <br>
1.คาร์บอนมอนนอกไซด์ (CARBON MONOXIDE) เป็นแก๊สพิษที่มีอันตรายอย่างสูงมากต่อคนและเกิดขึ้นได้เสมอในการเผาไหม้บริเวณที่จำกัด ซึ่งเป็นอันตรายต่อคน คือ ถ้าผสมอยู่ในอากาศคิดเป็นเปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ถ้าเกิน 0.05%มีอันตราย ถ้ามีอยู่ 0.16% ทำให้หมดสติ ใน 2 ชั่วโมง ถ้ามีอยู่ 1.26% จะหมดสติภายใน 1-3 นาที ของการหายใจและอาจจะส่งผลถึงชีวิตได้ นอกจากมีความเป็นพิษแล้ว แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ยังเป็นแก๊สเชื้อเพลิงอีกด้วย เมื่อมีความเข้มข้นในอากาศสูง ๆ สามารถลุกไหม้และเกิดการระเบิดได้อย่างรุนแรง เพลิงไหม้ในบริเวณที่โล่งแจ้งจะมีอันตรายจากแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์น้อยลงไป<br>
2.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CARBON DIOXIDE) เกิดจากการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์แบบไม่เป็นเชื้อเพลิง และไม่ก่ออันตรายแก่ร่างกายโดยตรง แต่จะไม่ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน ถ้าแก๊สนี้มีความเข้มข้นในอากาศเกินกว่า 5.0% โดยปริมาตร จะมีอันตรายและส่งผลทำให้ผู้ที่สูดดมเข้าไปหมดสติได้<br>
3.แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนต์ (HYDROGEN CYANIDE) มีลักษณะความเป็นแก๊สพิษที่รุนแรงมากกว่าแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มาก ส่วนผสมในอากาศ 100 ppm. ทำให้มีผลต่อผู้ที่สูดดมเข้าไปอาจจะหมดสติและเสียชีวิตได้ในเวลา 30-60 นาที โดยที่แก๊สนี้อาจจะจากเกิดการเผาไหม้สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ที่มีส่วนประกอบของคลอรีน ได้แก่ พวกพลาสติก ยาง เส้นใย ขนสัตว์ หนังสัตว์ ไม้ หรือผ้า ไหม มีลักษณะเป็นแก๊สที่เบากว่าอากาศ จึงมีอันตรายเป็นอย่างมากในการเผาไหม้บริเวณอาคารบ้านเรือนหรือบริเวณที่จำกัดพื้นที่ต่าง ๆ<br>
4.แก๊สฟอสจีน (HOSGENE) เกิดจากการเผาไหม้สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ที่มีส่วนประกอบของคลอรีน ได้แก่ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ฟรีออน (น้ำยาทำความเย็น) หรือเอธิลีนไดคลอไรด์ ซึ่งเป็นแก๊สที่มีความเป็นพิษสูงมาก จะได้รับเพียง 25 ppm. ในอากาศ ถ้าเกิดในเวลา 30-60 นาที ก็อาจจะทำให้เสียชีวิตได้<br>
5.แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HYDROGEN CHLORIDE) เป็นแก๊สพิษที่เกิดจากการเผาไหม้สารที่มีองค์ประกอบของคลอรีน มีสภาพเป็นกรดและทำให้เกิดความอันตรายได้เช่นเดียวกัน แม้จะไม่ได้รุนแรงมากเท่ากับแก๊สฟอสจีนหรือแก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ก็ตาม<br>
6.แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (HYDROGEN SULFIDE) เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของวัสดุพวกยาง พรม ไม้ ขนสัตว์ หรือวัสดุอื่นใดที่สมีกำมะถันผสมรวมอยู่ ซึ่งเป็นแก๊สที่มีอันตรายมากเพียง 400-700 ppm. ในอากาศ ถ้าได้รับนานเป็นเวลา 30-60นาที ก็อาจจะทำให้เสียชีวิต นอกจากนี้ยังเป็นแก๊สเชื้อเพลิงซึ่งทำให้ลุกติดไฟได้ง่ายอีกด้วย แต่ไม่ถึงขาดที่เกิดการระเบิด และจะมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า มักจะเรียกกันว่า “แก๊สไข่เน่า” มีฤทธิ์ที่สามารถทำลายเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้มากอีกด้วย<br>
7.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SULFUR DIOXIDE) เกิดจากการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของกำมะถันในอากาศ เป็นแก๊สพิษ จะมีความเข้มข้นเพียง 150 ppm. ในอากาศ ทำให้ทำลายชีวิตคนได้ภายในเวลา 30-60 นาที เมื่อผสมกับน้ำหรือความชื้นที่บริเวณผิวหนัง จะเกิดกรดกำมะถัน ซึ่งมีฤทธิ์ที่กัดอย่างรุนแรงผู้ที่ได้รับแก๊สนี้จึงมีอาการสำลักและเกิดการหายใจไม่ออกอย่างฉับพลัน<br>
8.แก๊สแอมโมเนีย (AMMONIA) เกิดจากการเผาไหม้พวกไม้ ขนสัตว์ ผ้าไหม น้ำยาทำความเย็น หรือสารอื่นๆที่มีสารประกอบของไนโตรเจน และไฮโดรเจนอยู่ จะมีกลิ่นที่ฉุนรุนแรง ทำให้เกิดความรำคาญ และทำลายเนื้อเยื่อ แต่ไม่มีตัวเลขส่วนผสมที่ทำให้เกิดการเสียชีวิต<br>
9.ออกไซด์ของแก๊สไนโตรเจน (OXIDE OF NITROGEN) ได้แก่ แก๊สไนตริกออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์ และไนโตรเจนเตตระออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้พวกไม้ ขี้เลื่อย พลาสติก ยางที่มีไนโตรเจนผสมสีและแลคเกอร์บางชนิด ที่ปริมาณ100 ppm. ในอากาศจะส่งผลทำให้เสียชีวิตได้ภายในเวลา 30 นาที<br>
10.แก๊สอะโครลีน(ACROLEIN)เป็นแก๊สเกิดจากการเผาไหม้สารที่เป็นไขมันที่อุณหภูมิ 600๐ F และ อาจเกิดจากการเผาไหม้สี และไม้บางชนิด ซึ่งเป็นแก๊สที่มีอันตรายสูงอยู่ที่ประมาณ 150-240 ppm. ในอากาศ ทำให้ผู้ที่ได้สูดหายใจเข้าไปอาจจะเสียชีวิตได้ภายในเวลา 30 นาที เมื่อได้รับจะทำให้คนเจ็บยังสูญเสียอวัยวะสัมผัส เช่น ตา และทำให้หายใจไม่ออก ซึ่งยังไม่สามารถจะหาทางหลบหนีออกจากบริเวณที่อันตรายได้ทัน<br>
11.ไอโลหะ (METAL FUMES) คือ ไอของโลหะหนักต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อโลหะนั้นได้รับความร้อนที่สูง เช่น ไอปรอท ไอตะกั่ว ไอสังกะสี ไอดีบุก ส่วนใหญ่เพลิงไหม้โรงผลิตหรือโรงเก็บอุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิกส์ จะเกิดไอโลหะได้มากและไอเหล่านี้ก็ยังจะมีอันตรายอีกด้วย<br>
12.เขม่าและควันไฟ (SOOT AND SMOKE) เขม่า คือ ก้อนหรือเศษของวัสดุที่ยังได้รับการเผาไหม้ไม่หมด จะมีลักษณะเป็นผงหรือละออง ส่วน ควันไฟ จะเป็นสารที่ผสมระหว่างเขม่า ขี้เถ้า และวัสดุต่าง ๆ ที่ได้มีการเกิดมาจากกองเพลิง รวมทั้งพวกแก๊สและไอต่าง ๆ ด้วย ผลของเขม่าและควันไฟ คือจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการสำลักและอาจจะถูกเผาที่บริเวณผิวหน้าหรือตามตัวได้ รวมทั้งจะปิดบังทางออกต่าง ๆ ทำให้หนีออกจากบริเวณที่อันตรายไม่ได้




บรรทัด 25: บรรทัด 38:
* [http://www.ffb.uni-karlsruhe.de/477.php Karlsruhe Institute of Technology (KIT) - Forschungsstelle für Brandschutztechnik: KAMINA - gas sensor microarrays for rapid smoke analysis]
* [http://www.ffb.uni-karlsruhe.de/477.php Karlsruhe Institute of Technology (KIT) - Forschungsstelle für Brandschutztechnik: KAMINA - gas sensor microarrays for rapid smoke analysis]
* [http://www.thaifire.com/Topics/Informations/BuildingSMOKE5.htm]
* [http://www.thaifire.com/Topics/Informations/BuildingSMOKE5.htm]
* [https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/black.htm]
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สิ่งแวดล้อม]]
[[หมวดหมู่:สิ่งแวดล้อม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 28 ตุลาคม 2558

ควัน จากไฟป่า

ควัน (อังกฤษ: smoke) จัดเป็นคอลลอยด์ ที่เป็นอนุภาคของของแข็งหรือของเหลว กระจายอยู่ในตัวกลางที่เป็นแก๊สที่มีอยู่ในอากาศ[1] จะถูกปล่อยออกมาเมื่อมีการเผาวัสดุหรือเกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีโดยใช้ความร้อน พร้อมกับปริมาณของอากาศหรือผสมในมวลสารชนิดอื่น ซึ่งเป็นส่วนเกินจากผลที่เกิดขึ้นจากความร้อน เช่น เตา, เทียนไข, ตะเกียงน้ำมัน และเตาไฟ แต่ก็อาจใช้สำหรับเป็นการกำจัดศัตรูพืช, การสื่อสารโดยใช้สัญญาณควัน, การป้องกันตัวโดยการสร้างฉากควัน, การทำอาหารเช่นแซลมอนรมควัน หรือเครื่องยาสูบชนิดต่างๆ ควันยังใช้ในพิธีกรรม, ธูปบูชา, ยางหอม ที่เผาเพื่อผลิตกลิ่น ในบางครั้งควันยังถูกนำไปใช้เป็นสารแต่งกลิ่น และเครื่องป้องกันสำหรับของกินต่างๆ ควันยังเป็นส่วนประกอบของไอเสียที่เกิดจากเครื่องยนต์สันดาปภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งไอเสียจากดีเซล
ควันจะแบ่งเป็น 2 ชนิด ควันดำ และ ควันขาว
ควันดำ คืออนุภาคของถ่านหรือคาร์บอนที่มีลักษณะเป็นผงและเขม่าเล็ก ๆ ที่เหลือจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ ที่ใช้น้ำมันดีเซลเป็นมาส่วนใหญ่ เช่น รถเมล์ รถปิกอัพดีเซล รถที่มีขนาดใหญ่ทั่วๆไป และจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งควันดำนอกจากจะบดบังยังส่งผลต่อการมองเห็นและเกิดความสกปรกและยังสามารถเข้าไปสู่ปอดโดยการหายใจอีกด้วย และสะสมอยู่ในถุงลมปอดซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดโรคมะเร็ง หรือเป็นตัวนำสารให้เกิดโรคมะเร็งปอดและทำให้หลอดลมอักเสบได้
ควันขาว เกิดจากเครื่องยนต์ที่ไม่ได้รับการบำรุงรักษาอย่างดี โดยเฉพาะรถจักยานยนต์เก่าๆ ควันขาวคือสารไฮโดรคาร์บอนหรือน้ำมัน เป็นเชื้อเพลิงที่ยังไม่ถูกเผาไหม้ แล้วมีการปล่อยออกมาทางท่อไอเสีย โดยที่สารไฮโดรคาร์บอนนี้เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะเกิดปฏิกิริยาในการสร้างก๊าซโอโซนซึ่งเป็นพิษภัยที่มีความรุนแรง
"สารพิษที่อยู่ในควันไฟที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะที่เกิดเพลิงไหม้ที่สำคัญ"
1.คาร์บอนมอนนอกไซด์ (CARBON MONOXIDE) เป็นแก๊สพิษที่มีอันตรายอย่างสูงมากต่อคนและเกิดขึ้นได้เสมอในการเผาไหม้บริเวณที่จำกัด ซึ่งเป็นอันตรายต่อคน คือ ถ้าผสมอยู่ในอากาศคิดเป็นเปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ถ้าเกิน 0.05%มีอันตราย ถ้ามีอยู่ 0.16% ทำให้หมดสติ ใน 2 ชั่วโมง ถ้ามีอยู่ 1.26% จะหมดสติภายใน 1-3 นาที ของการหายใจและอาจจะส่งผลถึงชีวิตได้ นอกจากมีความเป็นพิษแล้ว แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ยังเป็นแก๊สเชื้อเพลิงอีกด้วย เมื่อมีความเข้มข้นในอากาศสูง ๆ สามารถลุกไหม้และเกิดการระเบิดได้อย่างรุนแรง เพลิงไหม้ในบริเวณที่โล่งแจ้งจะมีอันตรายจากแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์น้อยลงไป
2.แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CARBON DIOXIDE) เกิดจากการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์แบบไม่เป็นเชื้อเพลิง และไม่ก่ออันตรายแก่ร่างกายโดยตรง แต่จะไม่ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน ถ้าแก๊สนี้มีความเข้มข้นในอากาศเกินกว่า 5.0% โดยปริมาตร จะมีอันตรายและส่งผลทำให้ผู้ที่สูดดมเข้าไปหมดสติได้
3.แก๊สไฮโดรเจนไซยาไนต์ (HYDROGEN CYANIDE) มีลักษณะความเป็นแก๊สพิษที่รุนแรงมากกว่าแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์มาก ส่วนผสมในอากาศ 100 ppm. ทำให้มีผลต่อผู้ที่สูดดมเข้าไปอาจจะหมดสติและเสียชีวิตได้ในเวลา 30-60 นาที โดยที่แก๊สนี้อาจจะจากเกิดการเผาไหม้สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ที่มีส่วนประกอบของคลอรีน ได้แก่ พวกพลาสติก ยาง เส้นใย ขนสัตว์ หนังสัตว์ ไม้ หรือผ้า ไหม มีลักษณะเป็นแก๊สที่เบากว่าอากาศ จึงมีอันตรายเป็นอย่างมากในการเผาไหม้บริเวณอาคารบ้านเรือนหรือบริเวณที่จำกัดพื้นที่ต่าง ๆ
4.แก๊สฟอสจีน (HOSGENE) เกิดจากการเผาไหม้สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ที่มีส่วนประกอบของคลอรีน ได้แก่ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ ฟรีออน (น้ำยาทำความเย็น) หรือเอธิลีนไดคลอไรด์ ซึ่งเป็นแก๊สที่มีความเป็นพิษสูงมาก จะได้รับเพียง 25 ppm. ในอากาศ ถ้าเกิดในเวลา 30-60 นาที ก็อาจจะทำให้เสียชีวิตได้
5.แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ (HYDROGEN CHLORIDE) เป็นแก๊สพิษที่เกิดจากการเผาไหม้สารที่มีองค์ประกอบของคลอรีน มีสภาพเป็นกรดและทำให้เกิดความอันตรายได้เช่นเดียวกัน แม้จะไม่ได้รุนแรงมากเท่ากับแก๊สฟอสจีนหรือแก๊สไฮโดรเจนไซยาไนด์ก็ตาม
6.แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (HYDROGEN SULFIDE) เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของวัสดุพวกยาง พรม ไม้ ขนสัตว์ หรือวัสดุอื่นใดที่สมีกำมะถันผสมรวมอยู่ ซึ่งเป็นแก๊สที่มีอันตรายมากเพียง 400-700 ppm. ในอากาศ ถ้าได้รับนานเป็นเวลา 30-60นาที ก็อาจจะทำให้เสียชีวิต นอกจากนี้ยังเป็นแก๊สเชื้อเพลิงซึ่งทำให้ลุกติดไฟได้ง่ายอีกด้วย แต่ไม่ถึงขาดที่เกิดการระเบิด และจะมีกลิ่นคล้ายไข่เน่า มักจะเรียกกันว่า “แก๊สไข่เน่า” มีฤทธิ์ที่สามารถทำลายเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้มากอีกด้วย
7.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SULFUR DIOXIDE) เกิดจากการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ของกำมะถันในอากาศ เป็นแก๊สพิษ จะมีความเข้มข้นเพียง 150 ppm. ในอากาศ ทำให้ทำลายชีวิตคนได้ภายในเวลา 30-60 นาที เมื่อผสมกับน้ำหรือความชื้นที่บริเวณผิวหนัง จะเกิดกรดกำมะถัน ซึ่งมีฤทธิ์ที่กัดอย่างรุนแรงผู้ที่ได้รับแก๊สนี้จึงมีอาการสำลักและเกิดการหายใจไม่ออกอย่างฉับพลัน
8.แก๊สแอมโมเนีย (AMMONIA) เกิดจากการเผาไหม้พวกไม้ ขนสัตว์ ผ้าไหม น้ำยาทำความเย็น หรือสารอื่นๆที่มีสารประกอบของไนโตรเจน และไฮโดรเจนอยู่ จะมีกลิ่นที่ฉุนรุนแรง ทำให้เกิดความรำคาญ และทำลายเนื้อเยื่อ แต่ไม่มีตัวเลขส่วนผสมที่ทำให้เกิดการเสียชีวิต
9.ออกไซด์ของแก๊สไนโตรเจน (OXIDE OF NITROGEN) ได้แก่ แก๊สไนตริกออกไซด์ ไนตรัสออกไซด์ และไนโตรเจนเตตระออกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้พวกไม้ ขี้เลื่อย พลาสติก ยางที่มีไนโตรเจนผสมสีและแลคเกอร์บางชนิด ที่ปริมาณ100 ppm. ในอากาศจะส่งผลทำให้เสียชีวิตได้ภายในเวลา 30 นาที
10.แก๊สอะโครลีน(ACROLEIN)เป็นแก๊สเกิดจากการเผาไหม้สารที่เป็นไขมันที่อุณหภูมิ 600๐ F และ อาจเกิดจากการเผาไหม้สี และไม้บางชนิด ซึ่งเป็นแก๊สที่มีอันตรายสูงอยู่ที่ประมาณ 150-240 ppm. ในอากาศ ทำให้ผู้ที่ได้สูดหายใจเข้าไปอาจจะเสียชีวิตได้ภายในเวลา 30 นาที เมื่อได้รับจะทำให้คนเจ็บยังสูญเสียอวัยวะสัมผัส เช่น ตา และทำให้หายใจไม่ออก ซึ่งยังไม่สามารถจะหาทางหลบหนีออกจากบริเวณที่อันตรายได้ทัน
11.ไอโลหะ (METAL FUMES) คือ ไอของโลหะหนักต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อโลหะนั้นได้รับความร้อนที่สูง เช่น ไอปรอท ไอตะกั่ว ไอสังกะสี ไอดีบุก ส่วนใหญ่เพลิงไหม้โรงผลิตหรือโรงเก็บอุปกรณ์ทางอิเลคทรอนิกส์ จะเกิดไอโลหะได้มากและไอเหล่านี้ก็ยังจะมีอันตรายอีกด้วย
12.เขม่าและควันไฟ (SOOT AND SMOKE) เขม่า คือ ก้อนหรือเศษของวัสดุที่ยังได้รับการเผาไหม้ไม่หมด จะมีลักษณะเป็นผงหรือละออง ส่วน ควันไฟ จะเป็นสารที่ผสมระหว่างเขม่า ขี้เถ้า และวัสดุต่าง ๆ ที่ได้มีการเกิดมาจากกองเพลิง รวมทั้งพวกแก๊สและไอต่าง ๆ ด้วย ผลของเขม่าและควันไฟ คือจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการสำลักและอาจจะถูกเผาที่บริเวณผิวหน้าหรือตามตัวได้ รวมทั้งจะปิดบังทางออกต่าง ๆ ทำให้หนีออกจากบริเวณที่อันตรายไม่ได้


อ้างอิง

  1. Smoke Production and Properties - SFPE Handbook of Fire Protection Engineering

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น