ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเพณีก่อเจดีย์ทราย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขเจตนาดีของ Iporpiiez (พูดคุย): ไม่มีอ้างอิง.ด้วยสจห.
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
แง่มๆ





ฟหก
ฟก
ฟก
กฟ
กฟกฟ
ก่เา
สีร

สั
ืทอ
ือ
ือ
อื
อื
อื
ิอือือื
ือ

อือ
ือิ
อิื
อิ
อือ


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:46, 6 สิงหาคม 2557

ประเพณีก่อเจดีย์ทรายของชาวหลวงพระบาง ราชอาณาจักรลาว ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง

ประเพณีก่อเจดีย์ทราย เป็นประเพณีสำคัญประเพณีหนึ่งในช่วงเทศกาลของชาวไทย ประเพณีนี้มีที่มาจากหลักฐานใน พระไตรปิฎก[1] ที่กล่าวพรรณาถึงอานิสงส์ที่พระโพธิสัตว์ก่อพระเจดีย์ทรายเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา[2]

ในประเทศไทยนั้น ประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายถือว่าเป็นประเพณีหนึ่งที่มีที่มาเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาโดยตรง โดยคนไทยผูกโยงประเพณีนี้เข้ากับคติความเชื่อเรื่องเวรกรรมในพระพุทธศาสนา มีการก่อพระเจดีย์ทรายถวายวัดเพื่อนำเศษดินทรายที่ติดเท้าออกจากวัดไปมาคืนวัดในรูปพระเจดีย์ทราย และเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาให้เป็นกุศลอานิสงส์ และนอกจากประเพณีเพื่อเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังเป็นกุศโลบายของคนในอดีตให้มีการรวมตัวของคนในชุมชนเพื่อร่วมกันจัดประเพณีรื่นเริงเป็นการสังสรรค์สร้างความสามัคคีของคนในชุมชนด้วย[3]

ปัจจุบันประเพณีนี้พบเพียงในประเทศไทยและลาวเท่านั้น โดยจัดในช่วงเทศกาลสำคัญเป็นการเฉลิมฉลองการเปลี่ยนศักราช เช่นในวันตรุษและวันสงกรานต์ เป็นต้น โดยในบางหมู่บ้านอาจเป็นประเพณีบุญคูนลาน บุญขวัญข้าว (ก่อเจดีย์ข้าวถวายเป็นพุทธบูชา) [4] ก็อาจนับว่าเป็นประเพณีก่อเจดีย์ทรายได้เช่นเดียวกัน เพราะไม่ได้สร้างเป็นพุทธศาสนสถานถาวรวัตถุใหญ่โต แต่เป็นเพียงเจดีย์ชั่วคราวเพื่อมุ่งถวายเป็นพุทธบูชาในการประเพณีหนึ่ง ๆ เท่านั้น

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ ปุฬินุปปาทกเถราปทานที่ ๗. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 14-3-53
  2. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ ปุฬินถูปิยเถราปทานที่ ๘. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก [2]. เข้าถึงเมื่อ 14-3-53
  3. กฤษณา พันธุ์มวานิช. (2550). ก่อเจดีย์ทรายเทศกาล วันสงกรานต์ กลอุบายสร้างความสามัคคี. [ออน-ไลน์]. แหล่งข้อมูล : http://www.culture.go.th/study.php?&YY=2550&MM=3&DD=2
  4. เทวประภาส มากคล้าย. (2553). คุ้งตะเภา จากอดีตสู่ปัจจุบัน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หน้า 60. ISBN 978-974-364-884-7

แง่มๆ



ฟหก ฟก ฟก ฟ กฟ กฟกฟ ก ฟ

ก่เา ้ สีร

ี ี สั ส ท ิ ืทอ ือ ือ ื อื อื อ ื อ ื อื ิอือือื ือ ื

อือ ิ ือิ ื อิื อิ อือ

ดูเพิ่ม