ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ต่อศักดิ์ สุขวิมล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
และจบปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณทิต จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม
และจบปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณทิต จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม


== ตำแหน่ง ==
== ตำแหน่ง ==ขึ้นไวกว่าจรวด

* 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - ผู้บังคับการกองบังคับการถวายปลอดภัยและปฏิบัติการพิเศษ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กองบังคับการตำรวจมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ 904 และ [[กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ]] ตามลำดับ)
* 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - ผู้บังคับการกองบังคับการถวายปลอดภัยและปฏิบัติการพิเศษ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กองบังคับการตำรวจมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ 904 และ [[กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ]] ตามลำดับ)
* 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 - รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
* 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 - รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:12, 3 พฤศจิกายน 2565

ต่อศักดิ์ สุขวิมล
รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม 2565
ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด27 มกราคม พ.ศ. 2507 (60 ปี)
จังหวัดเพชรบุรี
คู่สมรสนิภาพรรณ สุขวิมล
บุตร2
บุพการี
  • นิพนธ์ สุขวิมล (บิดา)
  • สมนึก สุขวิมล (มารดา)
ศิษย์เก่าโรงเรียนโยธินบูรณะ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ยศ พลตำรวจเอก

พลตำรวจเอก ต่อศักดิ์ สุขวิมล (เกิด 27 มกราคม พ.ศ. 2507) เป็นนายตำรวจชาวไทย เป็นรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[1] ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และอดีตผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง

ประวัติ

พลตำรวจเอก ต่อศักดิ์ สุขวิมล เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2507 ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรคนสุดท้องในบรรดาพี่น้อง 5 คนของนายนิพนธ์และนางสมนึก สุขวิมล และเป็นน้องชายของพลอากาศเอก สถิตย์พงษ์ สุขวิมล ราชเลขานุการในพระองค์และเลขาธิการพระราชวัง ด้านชีวิตครอบครัวสมรสกับนาง นิภาพรรณ สุขวิมล มีบุตรสาวทั้งสิ้น 2 คน[2]วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2565 พลตำรวจเอกต่อศักดิ์ ได้เข้าร่วมพิธีพระราชทานเพลิงศพเหตุกราดยิงที่จังหวัดหนองบัวลำภู พ.ศ. 2565 พร้อมมอบเงินบริจาคจำนวนหนึ่งให้ผู้สูญเสีย[3]

การศึกษา

จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนพันธะศึกษา ระดับมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนโยธินบูรณะ

ระดับปริญญาตรีจาก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 38

และจบปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณทิต จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม

== ตำแหน่ง ==ขึ้นไวกว่าจรวด

  • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - ผู้บังคับการกองบังคับการถวายปลอดภัยและปฏิบัติการพิเศษ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กองบังคับการตำรวจมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ 904 และ กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ ตามลำดับ)
  • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 - รองผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
  • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 - ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง
  • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 - ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
  • 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 - รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ด่วน! โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตำรวจ 255 ราย “พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์"นั่งผบ.ตร.
  2. พล.ต.ต.ต่อศักดิ์ สุขวิมล ผบช.ก. คนใหม่ น้องชายเลขาธิการพระราชวัง
  3. ผบ.ตร.มอบเงินบริจาคเยียวยาครอบครัวผู้สูญเสีย จ.หนองบัวลำภู 11.6 ล้าน
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๓, เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๓ ข หน้า ๒, ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๙, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๔, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐