พายุไต้ฝุ่นโคนี (พ.ศ. 2563)
![]() พายุไต้ฝุ่นโคนีขณะมีกำลังแรงสูงสุดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2563 | |
ประวัติทางอุตุนิยมวิทยา | |
---|---|
ก่อตัว | 26 ตุลาคม พ.ศ. 2563 |
สลายตัว | 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 |
พายุไต้ฝุ่นรุนแรง | |
10-นาที ของเฉลี่ยลม (JMA) | |
ความเร็วลมสูงสุด | 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) |
ความกดอากาศต่ำสุด | 905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์) ; 26.72 นิ้วปรอท |
พายุไต้ฝุ่น | |
10-นาที ของเฉลี่ยลม (TMD) | |
ความเร็วลมสูงสุด | 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) |
ความกดอากาศต่ำสุด | 905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์) ; 26.72 นิ้วปรอท |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 | |
1-นาที ของเฉลี่ยลม (SSHWS/JTWC) | |
ความเร็วลมสูงสุด | 315 กม./ชม. (195 ไมล์/ชม.) |
ความกดอากาศต่ำสุด | 884 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์) ; 26.10 นิ้วปรอท |
ผลกระทบ | |
ผู้เสียชีวิต | 32 ราย |
ความเสียหาย | $1.02 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี พ.ศ. 2551 USD) |
พื้นที่ได้รับผลกระทบ | ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา |
IBTrACS | |
ส่วนหนึ่งของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 |
พายุไต้ฝุ่นโคนี (อักษรโรมัน: Goni)[nb 1] หรือที่ในประเทศฟิลิปปินส์เรียกว่า พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นโรลลี (ตากาล็อก: Rolly)[nb 2] เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่อ่อนกำลังลงซึ่งเพิ่งขึ้นฝั่งที่เกาะคาตันดัวเนสในฟิลิปปินส์ โคนีเป็นพายุลูกที่ 19 พายุไต้ฝุ่นลูกที่ 9 และซูเปอร์ไต้ฝุ่นลูกที่ 2 ที่ได้รับการตั้งชื่อในฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 โคนีเริ่มก่อตัวขึ้นจากพายุดีเปรสชันทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะกวมเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม จากนั้นได้เพิ่มกำลังขึ้นเป็นพายุโซนร้อนและได้รับการตั้งชื่อในวันที่ 27 ตุลาคม โคนีได้ทวีความรุนแรงอย่างมากในทะเลฟิลิปปินและกลายเป็นซูเปอร์ไต้ฝุ่นเทียบเท่าระดับ 5 ในวันที่ 30 ตุลาคม จนถึงขณะนี้ถือเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดในโลกใน พ.ศ. 2563[1] เนื่องจากความเสียหายที่เกิดขึ้นจากพายุไต้ฝุ่นในประเทศฟิลิปปินส์ ทางกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น และ ทาง PAGASA หรือ สำนักงานสำรวจบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์ของฟิลิปปินส์ จึงได้ประกาศให้ชื่อ"โคนี" และ "โรลลี" ถูกปลดออกจากรายชื่อไต้ฝุ่นและจะไม่มีการใช้งานอีกต่อไปในอนาคต สําหรับชื่อใหม่ซึ่งถูกเลือกในปี พ.ศ. 2564 คือ โรมินา (Romina) และ พ.ศ. 2565 สําหรับชื่อทดแทนของพายุโคนี
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ "โคนี" เป็นชื่อพายุหมุนเขตร้อนในรายชื่อชุดที่ 3 ลำดับที่ 25 ของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกฝั่งเหนือ และส่งโดยประเทศเกาหลีใต้
- ↑ พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น "โรลลี" (29 ตุลาคม ถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563) จากรายงานของสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Samenow, Jason. "Super Typhoon Goni explodes into 2020's strongest storm on Earth, moves toward Philippines". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-10-31.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- พายุหมุนเขตร้อนระบบดิจิทัล (Digital Typhoon) ข้อมูลของพายุไต้ฝุ่นโคนี (2019)
- สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ข้อมูลเส้นทางของพายุไต้ฝุ่นโคนี (2019)
- สำนักงานอุตุนิยมวิทยาไทย (TMD) ข้อมูลเส้นทางของพายุไต้ฝุ่นโคนี (2019)
- ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม เก็บถาวร 2020-08-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (JTWC) ข้อมูลเส้นทางของพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นโคนี (22W)
- บทความเกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยาที่ยังไม่สมบูรณ์
- พายุหมุนเขตร้อนระดับ 5
- พายุหมุนเขตร้อน
- พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น
- พายุไต้ฝุ่นรุนแรง
- พายุไต้ฝุ่น
- ภัยธรรมชาติในปี พ.ศ. 2563
- ประเทศฟิลิปปินส์ในปี พ.ศ. 2563
- ประเทศเวียดนามในปี พ.ศ. 2563
- ประเทศกัมพูชาในปี พ.ศ. 2563
- ประเทศลาวในปี พ.ศ. 2563
- บทความพายุหมุนเขตร้อน
- พายุไต้ฝุ่นในประเทศฟิลิปปินส์
- พายุไต้ฝุ่นในประเทศเวียดนาม
- พายุไต้ฝุ่นในประเทศกัมพูชา
- พายุไต้ฝุ่นในประเทศลาว
- ภัยพิบัติในประเทศฟิลิปปินส์
- ภัยพิบัติในประเทศเวียดนาม
- ภัยพิบัติในประเทศกัมพูชา
- ภัยพิบัติในประเทศลาว