พายุโซนร้อนเมกี (พ.ศ. 2565)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พายุโซนร้อนเมกี
พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
พายุโซนร้อนเมกีบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อเช้าวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2565
พายุโซนร้อนเมกีบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อเช้าวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2565
พายุโซนร้อนเมกีบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อเช้าวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2565
ก่อตัว 8 เมษายน 2565
สลายตัว 13 เมษายน 2565
ความเร็วลม
สูงสุด
เฉลี่ยลมใน 10 นาที:
65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.)
เฉลี่ยลมใน 1 นาที:
75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.)
ความกดอากาศต่ำสุด 998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)
ผู้เสียชีวิต 214 ราย สูญหาย 132 ราย
ความเสียหาย 90.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงินปี พ.ศ. 2565)
พื้นที่ได้รับ
ผลกระทบ
ส่วนหนึ่งของ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565

พายุโซนร้อนเมกีหรือที่รู้จักในฟิลิปปินส์ในชื่อพายุโซนร้อน อากาโตน เป็น พายุหมุนเขตร้อน ที่พัดแรงแต่ส่งผลกระทบร้ายแรงที่ส่งผลกระทบกับฟิลิปปินส์ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 เป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่สาม และเป็นพายุโซนร้อนลูกที่สองของฤดูไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 เมกีมีต้นกำเนิดมาจากพื้นที่พาความร้อนในทะเลฟิลิปปินส์ โดยเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนืออย่างช้าๆ สู่อ่าวเลย์เตโดยที่มันเกือบจะนิ่งและค่อยๆ เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออก เมกีได้ได้ขึ้นฝั่งสองแห่ง แห่งหนึ่งในเกาะ CalicoanในGuiuanและอีกแห่งในBaseyเมืองSamar มันยังคงเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงใต้และกลับเข้าสู่ทะเลฟิลิปปินส์ก่อนที่จะสลายไป

เกิดฝนตกหนักและลมกรรโชกแรงทำให้เรือล่ม 2 ลำ เกิดดินถล่มในเลย์เต กระทบบ้านเรือน 210 หลัง เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2565 National Disaster Risk Reduction and Management Council (NDRRMC) ได้รายงานว่ามีผู้เสียชีวิต 214 ราย สูญหาย 132 ราย , และผู้บาดเจ็บ 8 ราย , ขณะนี้ตัวเลขผู้เสียชีวิตอยู่ระหว่างรายงาน The Department of Agriculture[ลิงก์เสีย] ประเมินความเสียหายทางการเกษตร 1.45 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์ , the Department of Public Works and Highways ประเมินความเสียหายด้านโครงสร้างพื้นฐานประมาณ 3.27 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์ รวมเป็น 4.72 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์(90.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) [1]. ซึ่งขณะนี้รายงานแตกต่างกันไป โดย NDRRMC, รายงานความเสียหาย 2.27 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์ (43.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

เส้นทางพายุ[แก้]

ภาพการเคลื่อนที่ของพายุโซนร้อนเมกี

เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2565 JTWC สังเกตเห็นการคงอยู่ของบริเวณการพาความร้อน 359 ไมล์ทะเล (665 กม.; 413 ไมล์) ทางตะวันตกเฉียงเหนือของปาเลา[2]เนื่องจากสภาพของพายุเอื้ออำนวยต่อการพัฒนา JMA จึงประกาศเป็นพายุดีเปรสชันนอกชายฝั่งตะวันออกของวิซายัสในวันนั้น [3][4] ในช่วงเวลาเดียวกัน PAGASA ประกาศว่าบริเวณหย่อมความกดอากาศต่ำได้ทวีความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันและได้ตั้งชื่อว่าอากาโตน(Agaton)[5] โดยหน่วยงาน PAGASA เริ่มออก Tropical Cyclone Bulletins (TCBs) สำหรับพายุในวันนั้น[6] ในวันรุ่งขึ้น JTWC ได้ออก TCFA สำหรับพายุในภายหลัง[7] เวลา 03:00 UTC และJTWC ได้อัปเกรดเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน และกำหนดตัวระบุ 03W[8]เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2565 JMA ได้อัปเกรดเป็นพายุโซนร้อน โดยกำหนดให้ชื่อ เมกี (Megi) 메기 เสนอชื่อโดยประเทศเกาหลีใต้ แปลว่า ปลาดุก,ปลาดุกอามูร์ [9]

ตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน ถึง 10 เมษายน พายุได้เคลื่อนตัวไปตามภูมิภาควิซายัสตะวันออก ส่งผลให้มีฝนตกหนักในภูมิภาค [10] PAGASA ยกสัญญาณพายุขึ้นเป็นสัญญาณหมายเลข 2 เมื่อพายุเข้าใกล้ฝั่ง[11][12] และพายุโซนร้อนเมกีได้ขึ้นฝั่งครั้งแรก ในเกาะ Calicoan , Guiuanเวลา 07:30 PHT (23:30 UTC)[13] เมืองเซบูตกอยู่ภายใต้สภาวะภัยพิบัติหลังฝนตกหนัก[14] พายุโซนร้อนเมกี ได้คร่าชีวิตผู้คนไป 214 ราย[15]เหลือผู้สูญหาย 132 ราย บาดเจ็บ 8 ราย และพลิกคว่ำเรือสินค้าในออร์มอคหลังเกิดฝนตกหนัก ลมกระโชกแรง และน้ำท่วมฉับพลัน ส่งผลให้ประชาชนกว่า 775,846 คนต้องพลัดถิ่น[16][17][18][19] [20]ผู้ว่าราชการเมืองดาเวา เดอ โอโรประเมินความเสียหายทางการเกษตรในจังหวัดที่ 3.27 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์ [21] จากข้อมูลของ PAGASA พายุโซนร้อนเมกี หยุดนิ่งอยู่ในอ่าวเลย์เตเป็นเวลาหลายชั่วโมงก่อนที่จะขึ้นฝั่งครั้งที่สองในบาซีย์ซามาร์[22] จากนั้นโซนร้อน เมกี ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชัน หลังจากนั้นเคลื่อนตัวอย่างช้าๆ อยู่เหนือเกาะSamarและLeyteและPAGASA ได้ยกเลิกสัญญาณเตือนทั้งหมดออกขณะที่มันอ่อนกำลังเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในเที่ยงคืนของวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2565[23]

การเตรียมการ[แก้]

พายุโซนร้อนมาลากัสที่ทวีความรุนแรงขึ้นทางตะวันออกของแยปขณะที่พายุโซนร้อนเมกี (อากาโตน)ใกล้ภูมิภาควิซายัสและต่อมาหยุดนิ่งในอ่าวเลย์เตทำให้เกิดน้ำท่วมและดินถล่มครั้งใหญ่ในฟิลิปปินส์

เมื่อพายุกำลังพัฒนาเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน PAGASA ก็เริ่มออกคำเตือนสัญญาณหมายเลข 1 ทันที ซามาร์เหนือและตะวันออก ซูริเกาและหมู่เกาะ Bucas Grande และ Dinagat Islands.[24]หน่วยงานยังได้เริ่มเพิ่มคำเตือนสัญญาณหมายเลข 2 และและเพิ่มพื้นที่คำเตือนสัญญาณหมายเลข 1 หลังจากที่พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน[25]มีการหยุดทำการเรียนและการทำงานในเมือง Danao, Cebu เมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2565[26]

เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2565 มีการหยุดทำการเรียนใน Cebu City, Lapu-Lapu City, Mandaue, Talisay, Carcar,และ Tacloban [27]การเรียนมีการหยุดในจังหวัด Leyte ใต้ ทั้งหมด และในส่วนของ Negros Occidental [28]เมืองเซบูและตักโลบันยังหยุดทำงานทั้งภาครัฐและเอกชน และเริ่มอพยพผู้อยู่อาศัยใกล้แม่น้ำและชายฝั่ง [29][30][31]กระทรวงการต่างประเทศระงับการดำเนินงานของ consular offices สองแห่งในพื้นที่ได้รับผลกระทบ[32][33]จากข้อมูลของ NDRRMC ประชาชน 35,381 คนถูกอพยพออกไป[34]

PLDTและ Globe Telecom ซึ่งเป็นบริษัทโทรคมนาคมของฟิลิปปินส์ทั้งคู่ ได้เตรียมสถานีโทรและชาร์จฟรีก่อนเกิดพายุ [35][36][37]

เมื่อวันที่ 12 เมษายน Department of Social Welfare and Development(DSWD) ประกาศว่าได้เตรียมอาหารชุดสำหรับครอบครัวมูลค่า 13.2 ล้านเปโซฟิลิปปินส์(254,049 ดอลลาร์สหรัฐ) และเพิ่มอีก 26.7 ล้านเปโซฟิลิปปินส์ (513,462 ดอลลาร์สหรัฐ) ) มูลค่าของที่ไม่ใช่อาหาร[38]

ผลกระทบ[แก้]

ภาพดินถล่มในเมืองเบย์เบย์ จังหวัดเลย์เต ประเทศฟิลิปปินส์

ความเสียหายส่วนใหญ่ของพายุโซนร้อนเมกีส่วนใหญ่อยู่ที่ ภูมิภาค วิซายัสเป็นที่พายุโซนร้อนเมกีพัดถล่มทำให้ ฝนตกหนักต่อเนื่องน้ำท่วมฉับพลันและลมแรง ทำให้เกิดน้ำท่วมและดินถล่มเป็นวงกว้างทั่วทั้งสองภูมิภาค พื้นที่บางแห่งที่ได้รับผลกระทบจากพายุโซนร้อนเมกีเพิ่งโดนไต้ฝุ่นราอีเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 และเพิ่งเริ่มฟื้นตัวก่อนที่ได้รับผลกระทบของพายุโซนร้อนเมกี[39]

เมื่อวันที่ 10 เมษายน คลื่นหนักซัดทับเรือขนส่งสินค้าแบบRoll-on/roll-offในซานฟรานซิสโก เมืองเซบูทำให้มันจม และยังคว่ำเรือบรรทุกสินค้าในเมืองOrmoc [40][41][42] นักเดินทางที่เดินทางกลับบ้านในช่วงHoly Week in the Philippinesในวิซายัสตะวันออกและตอนกลางติดอยู่ที่ท่าเรือเนื่องจากสภาพอากาศเลวร้าย [43]ผู้โดยสารประมาณ 8,769 คนติดอยู่ในภูมิภาคตะวันตกของฟิลิปปินส์ [44]มีรายงานไฟฟ้าดับใน 75 เมืองและเขตเทศบาล [45]ไฟฟ้าดับยังส่งผลกระทบต่อบริการของบริษัทโทรคมนาคมในพื้นที่ [46]ณ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2565 ยังคงมีน้ำท่วมอย่างน้อย 261 พื้นที่ทั่วเมืองวิซายัสและมินดาเนา [47]

NDRRMC รายงานว่ามีผู้ได้รับผลกระทบ 2,298,780 คน โดย 886,822 คนต้องพลัดถิ่นจากบ้านของพวกเขา หน่วยงานยังรายงานผู้เสียชีวิต 214 ราย สูญหาย 132 ราย และบาดเจ็บ 8 ราย ณ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2565[48]ในเบย์เบย์เมืองรายงานผู้เสียชีวิตทั้งหมด 101 ราย สูญหาย 102 ราย และบาดเจ็บ 103 ราย โดยมีดินถล่มครอบคลุมพื้นที่ 210 ครัวเรือนในbarangay[49][50]ในเมือง Pilar, Abuyogมีผู้เสียชีวิต 26 ราย บาดเจ็บ 96 ราย สูญหาย 150 ราย และบ้านเรือน 80 % ถูกดินถล่ม The Ministry of Social Services and Development in the Bangsamoro รายงานผู้ได้รับผลกระทบอย่างน้อย 136,000 คนใน Bangsamoro Special Geographic Area (geographically in Cotabato)[51]

NDRRMC ประเมินความเสียหายทางการเกษตรที่ 2.27 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์โดยความเสียหายโครงสร้างพื้นฐานประมาณ 6.95 ล้านเปโซฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ บ้านเรือนเสียหาย 16,382 หลัง (โดยบ้านถูกทำลายทั้งหมด 2,258 หลัง) ทำให้เกิดความเสียหายเพิ่มเติมประมาณ 709,500 เปโซฟิลิปปินส์ โดยรวมแล้ว NDRRMC ประเมินความเสียหายอย่างน้อย 4.72 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์ (90.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ผลมาจากพายุโซนร้อนเมกี[52]

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-19. สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
  2. https://wiki.chlod.net/jtwc/text/2022-04-08-0340-abpwweb.txt
  3. https://wiki.chlod.net/jtwc/text/2022-04-08-0340-abpwweb.txt
  4. https://archive.today/20220408210901/https://tgftp.nws.noaa.gov/data/raw/ww/wwjp27.rjtd..txt
  5. https://twitter.com/dost_pagasa/status/1512513418808291330
  6. https://archive.org/download/pagasa-22-TC01/PAGASA_22-TC01_Agaton_TCB%2301.pdf
  7. https://wiki.chlod.net/jtwc/text/2022-04-09-0210-wp9422web.txt
  8. https://wiki.chlod.net/jtwc/text/2022-04-09-0350-wp0322web.txt
  9. https://archive.today/2022.04.10-083103/https://www.wis-jma.go.jp/d/o/RJTD/Alphanumeric/Warning/Tropical_cyclone/20220410/000000/A_WTPQ51RJTD100000_C_RJTD_20220410012116_15.txt
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-11. สืบค้นเมื่อ 2022-04-11.
  11. https://archive.org/download/pagasa-22-TC01/PAGASA_22-TC01_Agaton_TCB%2309.pdf
  12. https://ghostarchive.org/archive/yP5Oa
  13. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-11. สืบค้นเมื่อ 2022-04-11.
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-10. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
  15. https://www.reuters.com/business/environment/philippines-reports-21-dead-landslides-after-tropical-storm-megi-2022-04-11/
  16. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-10. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
  17. https://newsinfo.inquirer.net/1581147/cargo-vessel-capsizes-off-ormoc-city-amid-agaton-onslaught
  18. https://www.bulgaronline.com/amp/3-patay-1-nawawala-2-nasaktan-dahil-sa-bagyong-agaton-ndrrmc
  19. https://web.archive.org/web/20220410111840/https://ndrrmc.gov.ph/attachments/article/4184/SitRep_No_1_for_Tropical_Storm_AGATON__2022.pdf
  20. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-19. สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
  21. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-04-10. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
  22. https://twitter.com/dost_pagasa/status/1513443939512045568
  23. https://newsinfo.inquirer.net/1582222/agaton-weakens-into-low-pressure-area-to-continue-bringing-heavy-rainfall-pagasa
  24. "Tropical Cyclone Bulletin #1 for Tropical Depression 'Agaton'"
  25. https://archive.org/download/pagasa-22-TC01/PAGASA_22-TC01_Agaton_TCB%2309.pdf
  26. https://www.sunstar.com.ph/article/1926140/cebu/local-news/classes-work-in-danao-city-suspended-due-to-typhoon-agaton
  27. "No classes in tri-cities, Cebu Province due to 'Agaton'"
  28. https://mb.com.ph/2022/04/10/government-works-classes-at-all-levels-suspended-at-e-visayas-due-to-agaton/
  29. https://www.sunstar.com.ph/article/1926174/cebu/local-news/no-classes-in-tri-cities-cebu-province-due-to-agaton
  30. https://news.abs-cbn.com/video/news/04/11/22/klase-trabaho-sa-tacloban-kanselado-dahil-kay-agaton
  31. https://cebudailynews.inquirer.net/?p=434843
  32. https://www.gmanetwork.com/news/topstories/nation/828146/dfa-suspends-operations-at-two-consular-offices-due-to-agaton/story/
  33. https://newsinfo.inquirer.net/1581383/fwd-consular-office-in-tacloban-city-closed-monday-due-to-agaton
  34. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-14. สืบค้นเมื่อ 2022-04-16.
  35. https://news.abs-cbn.com/business/04/11/22/pldt-readies-equipment-personnel-as-agaton-barrels-visayas-mindanao
  36. https://businessmirror.com.ph/2022/04/11/globe-reports-service-interruption-in-agaton-affected-towns-pldts-free-calls-free-charging-stations-on-standby/
  37. https://www.gmanetwork.com/news/topstories/regions/828171/agaton-power-cuts-cause-outage-of-telco-services-in-visayas/story/
  38. https://www.pna.gov.ph/articles/1171937
  39. https://www.rappler.com/nation/cebu-city-mayor-mike-rama-preemptive-evacuation-agaton/
  40. https://cebudailynews.inquirer.net/?p=434824
  41. https://newsinfo.inquirer.net/1581172/passenger-vessel-sinks-while-docked-at-cebu-port-due-to-agaton
  42. https://newsinfo.inquirer.net/1581147/cargo-vessel-capsizes-off-ormoc-city-amid-agaton-onslaught
  43. https://newsinfo.inquirer.net/1581212/tropical-strom-agaton-strands-holy-week-travelers
  44. https://ndrrmc.gov.ph/attachments/article/4184/SitRep_No_9_for_TC_AGATON_2022_Update.pdf
  45. https://ndrrmc.gov.ph/attachments/article/4184/SitRep_No_9_for_TC_AGATON_2022_Update.pdf
  46. https://www.sunstar.com.ph/article/1926212/cebu/local-news/power-failure-causes-service-outage-in-selected-areas-hit-by-agaton
  47. https://ndrrmc.gov.ph/attachments/article/4184/SitRep_No_9_for_TC_AGATON_2022_Update.pdf
  48. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-19. สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
  49. https://www.philstar.com/headlines/2022/04/12/2174098/search-survivors-provinces-hit-landslides
  50. https://www.gmanetwork.com/news/topstories/nation/828621/101-dead-102-missing-103-injured-in-leyte-s-baybay-city-due-to-agaton-cdrrmo/story/
  51. https://www.pna.gov.ph/articles/1172078
  52. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-19. สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น(JMA)ข้อมูลทั่วไปของพายุโซนร้อนเมกี (2202) จากไต้ฝุ่นดิจิทัล

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น(JMA) เส้นทางพายุของพายุโซนร้อนเมกี (2202)

ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม(JTWC) เส้นทางพายุของพายุโซนร้อนเมกี (03W)

พายุโซนร้อนเมกี (03W)จากห้องปฏิบัติการวิจัยกองทัพเรือสหรัฐ