พอลิไวนิลคลอไรด์
Pure PVC powder, containing no plasticizer
| |
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
poly(1-chloroethylene)[1]
| |
ชื่ออื่น
Polychloroethene
| |
เลขทะเบียน | |
ตัวย่อ | PVC |
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ |
|
ECHA InfoCard | 100.120.191 |
KEGG | |
MeSH | Polyvinyl+Chloride |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
คุณสมบัติ | |
(C2H3Cl)n[2] | |
ลักษณะทางกายภาพ | ขาว, ของแข็งเปราะบาง |
กลิ่น | ไร้กลิ่น |
ความหนาแน่น | 1.4 g/cm3 |
ไม่ละลายน้ำ | |
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล | ไม่ละลายน้ำ |
ความสามารถละลายได้ ใน tetrahydrofuran | ละลายน้ำเล็กน้อย |
−10.71×10−6 (SI, 22 °C)[3] | |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
ค่าขีดจำกัดเกณฑ์ (TLV)
|
10 mg/m3 (ไม่สูดหายใจ), 3 mg/m3 (หายใจเข้าไปได้) (TWA) |
NIOSH (US health exposure limits):[4] | |
PEL (Permissible)
|
15 mg/m3 (ไม่สูดหายใจ), 5 mg/m3 (หายใจเข้าไปได้) (TWA) |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
พอลิไวนิลคลอไรด์ (อังกฤษ: polyvinyl chloride; เขียนอีกแบบเป็น: poly(vinyl chloride))[5][6] สำนวนภาษาปาก: ไวนิล (vinyl)[7] หรือ พอลิไวนิล มีชื่อย่อที่ใช้กันทั่วไปว่า พีวีซี (PVC)[7] มีสูตรทางเคมีว่า (C2H3Cl)n เป็นเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง
การใช้งาน
[แก้]ในด้านการค้า พอลิไวนิลคลอไรด์ เป็นสินค้าที่มีคุณค่ามากในอุตสาหกรรมเคมี มากกว่า 50% ของพอลิไวนิลคลอไรด์ที่ผลิตได้ทั่วโลกถูกใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นส่วนหนึ่งของตัวอาคาร ทั้งนี้เพราะพอลิไวนิลคลอไรด์มีราคาที่ราคาถูก คงทนและง่ายต่อการขึ้นรูป ในช่วงเวลาไม่นานมานี้พีวีซีถูกนำมาใช้เพื่อแทนที่ไม้, คอนกรีต และดินด้วย อย่างไรก็ตามกระบวนการผลิตพอลิไวนิลคลอไรด์ ยังส่งผลในด้านลบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์
พอลิไวนิลคลอไรด์ถูกประยุกต์ใช้งานที่หลากหลาย ในรูปแบบของพลาสติกแข็ง เช่น ขอบกันกระแทก, ตัวบัตรต่าง ๆ, ท่อ และในปัจจุบันได้มีการนำ พอลิไวนิลคลอไรด์มาปรับปรุงส่วนใหญ่แล้วคนทั่วไปเคยจะได้ยินชื่อ PVC อยู่แล้ว แต่อาจจะยังไม่รู้ที่มาที่ไป ความหมาย ที่แท้จริง เช่น PVC มาจากไหน? , PVC คืออะไร? , เป็นต้น
PVC ย่อมาจาก polyvinylchloride
PVC หมายถึง พอลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinylchloride) ซึ่งเป็นพลาสติกที่สามารถเปลี่ยนคุณสมบัติได้ด้วยการเติมสารเคมี โดยทั่วไปแล้ว PVC มีความนิยมใช้ในกลุ่มงานอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์น้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่น เนื่องจาก PVC ประกอบไปด้วยสารเคมีปรุงแต่งจึงทำให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในบรรจุภัณฑ์ แต่ก็มีบรรจุภัณฑ์บางชนิดผลิตจาก PVC สามารถนำมาใช้ได้โดยไม่มีสารเคมีตกค้าง เช่น ฟิล์มยืดสำหรับห่อเนื้อสัตว์และผลไม้สด ถาดบรรจุอาหารแห้ง ถาดหรือกล่องบรรจุอาหารสด และขวดบรรจุน้ำมันพืช เป็นต้น
การเตรียม
[แก้]พอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน มีลักษณะเป็นผงสีขาว มาจากกระบวนการพอลิเมอไรเซชัน ของมอนอเมอร์ไวนิลคลอไรด์ โดยกว่า 57% เป็นน้ำหนักของคลอรีน (chlorine, Cl) ทำให้พอลิไวนิลคลอไรด์มีส่วนผสมของปิโตรเลียมน้อยกว่าพอลิเมอร์ชนิดอื่น
เนื่องจากพอลิไวนิลคลอไรด์เรซินไม่มีคุณสมบัติการเกาะตัวกันทำให้ไม่สามารถขึ้นรูปได้ ทำให้เวลานำไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องผ่านการเติมสารเติมแต่งต่าง ๆ เพื่อให้สามารถขึ้นรูปและได้คุณสมบัติที่ต้องการ
อ้างอิง
[แก้]อ้างอิงทั่วไป
[แก้]- Titow, W. (1984). PVC Technology. London: Elsevier Applied Science Publishers. ISBN 978-0-85334-249-6.
อ้างอิงภายใน
[แก้]- ↑ "poly(vinyl chloride) (CHEBI:53243)". CHEBI. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2013. สืบค้นเมื่อ 12 July 2012.
- ↑ "Substance Details CAS Registry Number: 9002-86-2". Commonchemistry. CAS. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 July 2012.
- ↑ Wapler, M. C.; Leupold, J.; Dragonu, I.; von Elverfeldt, D.; Zaitsev, M.; Wallrabe, U. (2014). "Magnetic properties of materials for MR engineering, micro-MR and beyond". JMR. 242: 233–242. arXiv:1403.4760. Bibcode:2014JMagR.242..233W. doi:10.1016/j.jmr.2014.02.005. PMID 24705364. S2CID 11545416.
- ↑ "Material Safety Data Sheet: PVC Compounds Pellet and Powder" (PDF). Georgia Gulf Chemical and Vinyls LLC. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2021. สืบค้นเมื่อ 23 July 2021.
- ↑ "Poly(vinyl chloride)" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). MilliporeSigma. 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 October 2022. สืบค้นเมื่อ 11 October 2022.
- ↑ "Poly(Vinyl Chloride)".
- ↑ 7.0 7.1 "About PVC". The European Council of Vinyl Manufacturers. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-12-05. สืบค้นเมื่อ 2024-03-17.