ผู้ใช้:ManSP1996/อักษรมลายูเทวนาครี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การใช้อักษรมลายูเทวนาครี ใช้รูปแบบที่ใกล้เคียงกับการใช้ภาษาฮินดีเป็นอักษรโรมัน (หรือในทางกลับกันก็ได้) เนื่องจากภาษามลายู มีการออกเสียงคำยืมใกล้เคียงกับภาษาฮินดี ดังนั้น การถอดเสียงบางคำโดยเฉพาะคำยืมภาษาสันสกฤต จึงอาศัยดัดแปลงจากการถอดเสียงจากภาษาฮินดีเป็นหลัก

พยัญชนะ[แก้]

ระบบการออกเสียงยังคงตามอักษรเทวนาครีที่ใช้กับภาษาฮินดีหรือภาษาอื่นๆในกลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีอักษรโรมันแบบมลายูหรืออักษรรูมีและอักษรยาวีเป็นตัวเทียบเคียง

  • ตัวอักษรที่อยู่ในกรอบสีเทาคือตัวอักษรที่ไม่ได้ใช้ในภาษามลายูดั้งเดิม
สปรรศะ
(เสียงกัก)
อะนุนาสิกะ
(เสียงนาสิก)
อันตะสถะ
(เสียงเปิด)
อูษมะ/สังฆรรษี
(เสียงเสียดแทรก)
ก้องหรือไม่ → อะโฆษะ (ไม่ก้อง) โฆษะ (ก้อง) อะโฆษะ (ไม่ก้อง) โฆษะ (ก้อง)
การพ่นลม → อัลปปราณะ มะหาปราณะ อัลปปราณะ มะหาปราณะ อัลปปราณะ มะหาปราณะ
กัณฐยะ
(เพดานอ่อน)
Ka
ک
/k/
Kha
خ
/x/
Ga
ݢ
/ɡ/
Gha
غ
/ɣ/
Nga
ڠ
/ŋ/
Ha
ه
/h/
ตาละวยะ
(เพดานแข็ง)
Ca
چ
/t͡ʃ/
Cha
چ*
/t͡ʃʰ/
Ja
ج
/d͡ʒ/
Jha
جھ‬*
/d͡ʒʱ/
Nya
ڽ
/ɲ/
Ya
ي
/j/
Sya
ش
/ʃ/
มูรธันยะ
(ปลายลิ้นม้วน)
Ta
ٹ‬*
/ʈ/
Tha
ٹھ‬*
/ʈʰ/
Da
ڈ*
/ɖ/
Dha
ڈھ*
/ɖʱ/
Na
ن*
/ɳ/
Ra
ر
/r/
Sa
ص*
/ʂ/
ทันตยะ
(ฟัน)
Ta
ط
/t/
Tha
تھ‬*
/t̪ʰ/
Da
د
/d/
Dha
دھ‬*
/d̪ʱ/
Na
ن
/n/
La
ل
/l/
Sa
ص
/s/
โอษฐยะ
(ริมฝีปาก)
Pa
ڤ
/p/
Fa
ف
/f/
Ba
ب
/b/
Bha
بھ*
/bʱ/
Ma
م
/m/
Wa
و
/w/
  • * ไม่มีในอักษรยาวี ยืมมาจากอักษรอูรดูซึ่งสามารถถอดรูปและเสียงจากอักษรเทวนาครี

อักษรเทวนาครีบางส่วนนอกจากนี้ ยังสามารถเขียนทับศัพท์ภาษาอื่นได้ เช่น ภาษาอาหรับ, ภาษาสันสกฤต หรือ ภาษาไทย เป็นต้น

อักษร IPA ถอดเป็นอักษรรูมี ถอดเป็นอักษรยาวี
/ɭ/ Lha - (ไม่มีใช้สำหรับอักษรยาวี)
क़ /q/ Qa ق
ज़ /z/ Za ظ
ड़ /ṛa/ Ra - (ไม่มีใช้สำหรับอักษรยาวี)
ढ़ /ṛha/ Rha - (ไม่มีใช้สำหรับอักษรยาวี)

สระ[แก้]

สระในอักษรเทวนาครีแบ่งเป็นเสียงยาวกับเสียงสั้น อย่างไรก็ตาม ภาษามลายูได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับซึ่งมีการใช้สระค่อนข้างจำกัด จึงทำให้การใช้ตัวอักษรบางตัว จึงคล้ายคลึงกันและไม่สามารถแยกเสียงสั้น-ยาวได้ชัดเจน จึงอนุโลมให้ใช้สระเพียงเพื่อความเข้าใจได้

สระลอย สระจม เกาะตัว क IPA ถอดเป็นอักษรรูมี (เทียบกับสระจม) ถอดเป็นอักษรยาวี (เทียบกับสระจม)
, , का /a/, /ā/ Ka كا
कि /i/ Ki كي
की /ī/ Ky كي
, कू, कु /u/, /ū/ Ku کو
के /ē/ Ke کي
कै /ai/ Kai كاي
को /ō/ Ko کو
कौ /au/ Kau كاو

การใช้สระอักษรรูมี e ในภาษามลายูบางคำ มักเป็นการใช้สระอะกึ่งเสียง ซึ่งมักจะออกเสียง เออะ แต่เนื่องจากรูปในอักษรยาวีหรือแม้แต่ในรากศัพท์เดิม ไม่มีการใช้สระเพิ่มเติมเหมือนการใช้คำที่ไม่มีประวิสรรชนีย์ในภาษาไทย ทำให้บางครั้งจึงไม่จำเป็นต้องใช้สระ E เข้าในไปรูปก็ได้ เช่น Selamat ก็สามารถเขียนเป็น सलामत ได้โดยไม่จำเป็นต้องเขียน सेलामत

ตัวอย่างการใช้[แก้]

อักษรยาวี อักษรรูมี อักษรมลายูเทวนาครี แปลภาษาไทย
کيلاون اينتن برکليڤ-کليڤ دلاڠيت تيڠڬي،

دان چهاي مناري-ناري دلاڠيت بيرو،
تيدقله داڤت مننڠکن ڤراساءنکو،
يڠ ريندوکن کحاضرن کاسيه.

ڬمرسيق ايراما مردو بولوه ڤريندو،
دان ڽاڽين ڤاري-ڤاري دري کايڠن،
تيدقله داڤت تنترمکن سانوباري،
يڠ مندمباکن کڤستين کاسيهمو.

Kilauan intan berkelip-kelip di langit tinggi,
Dan cahaya menari-nari di langit biru,
Tidaklah dapat menenangkan perasaanku,
Yang rindukan kehadiran kasih.

Gemersik irama merdu buluh perindu,
Dan nyanyian pari-pari dari kayangan,
Tidaklah dapat tenteramkan sanubari,
Yang mendambakan kepastian kasihmu.

किलौवं इंतं ब्रक्लिपक्लिप् दि लाङित् तिङगि,
दां चहाय म्नारिनारि दि लाङित् बिरु,
तिदकलह दापत् म्न्नङकं प्रासाअंकु,
यङ् रिंदुं क्हादिरं कासिह्.

ग्म्रसिक् इिरामा म्रदु बुलुह प्रिंदु,
दां ञांञैं पारिपारि दरि कायङं,
तिदकलह दापत् त्नत्ररमकं सानूबारि,
यङ् म्नदमबाकं क्पसतैं कासिहमु.

แสงเพชรงามแวววาวผ่านฟ้าสูง,
แลแสงรุ่งร่ายรำเหนือฟ้าคราม,
มิอาจให้ใจข้าได้ปลอบตาม,
ว่าคิดถามเชื่อใจสุดที่รัก.

เสียงจังหวะเร้าจิตไผ่ก้องร้อง,
และทำนองเทพฟ้าไม่ร้ายนัก,
มิอาจให้ดวงจิตสงบพัก,
ว่าโหยหักคำเกียรติเจ้าเอย.