ผู้ใช้:ES Geqias/อาณาจักรข่านบูคารา

พิกัด: 39°46′N 64°26′E / 39.767°N 64.433°E / 39.767; 64.433
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาณาจักรข่านบูคารา

خانات بخارا
1506–1785
ธงชาติบูคารา
ธงศึก
อาณาจักรข่านบูคารา (เขียว), ราว ค.ศ. 1600.
อาณาจักรข่านบูคารา (เขียว), ราว ค.ศ. 1600.
เมืองหลวง
39°46′N 64°26′E / 39.767°N 64.433°E / 39.767; 64.433
ภาษาทั่วไปเปอร์เซีย (ทางการ, ศาล, วรรณกรรม)[1][2]
ชะกะไตเตอร์กิก[3]
การปกครองราชาธิปไตย
ข่าน 
• 1506–1510
มุฮัมมัด เชแบนี
• 1758–1785
อะบู ละ กาซี ข่าน
Ataliq 
ยุคประวัติศาสตร์สมัยใหม่ตอนต้น
• มุฮัมมัด เชแบนีพิชิตบูคาราจากจักรวรรดิตีมูร์
1506
1785
ประชากร
• 1902
2,000,000 คน[4]
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชวงศ์ตีมูร์
อาณาจักรข่านอุซเบก
เอมิเรตบูคารา
อาณาจักรข่านโกกันด์
จักรวรรดิดุรรานี

อาณาจักรข่านบูคารา (เปอร์เซีย: خانات بخارا; อุซเบก: Buxoro Xonligi) เป็นรัฐอุซเบก[5] ตั้งแต่ไตรมาสที่สองแห่งศตวรรษที่ 16 จนถึง หลังศตวรรษที่ 18 ในเอเชียกลางหรือเตอร์กิสถาน บูคาราคือเมืองหลวงของจักรวรรดิเชแบนิดที่มีระยะสั้นในช่วงรัชสมัยของอุบัยดุลเลาะห์ ข่าน (ค.ศ. 1533–1540) อาณาจักรข่านมีขอบเขตและอิทธิพลสูงสุดภายใต้จุดจบของผู้ปกครองเชแบนิด ที่เป็นนักวิชาการ อับดุลเลาะห์ ข่านที่ 2 (ครองราชย์ ค.ศ. 1577–1598)

ในศตวรรษที่ 17 และ 18 อาณาจักรข่านปกครองโดยราชวงศ์จานิด

ราชวงศ์เชแบนิด[แก้]

ราชวงศ์จานิด[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

1902–1903 พรมแดนของจักรวรรดิรัสเซีย ดินแดนของบูคารา คิวาและโกกันด์

อ้างอิง[แก้]

  1. Ulugbek Azizov (2015). "Freeing from the "Territorial Trap"" (ภาษาอังกฤษ). LIT Verlag Münster. p. 58. สืบค้นเมื่อ 2017-07-22.

    The Bukhara Khanate as a new administrative entity was founded in 1533 and was the continuation of the Shaybanid dynas- ty. The khanate occupied the territory from Kashgar (west of Chi- na) to the Aral Sea, from Turkestan to the east part of Chorasan. The official language was Persian as well as Uzbek was spoken widely.

  2. Ira Marvin Lapidus - 2002, A history of Islamic societies, p.374
  3. Grenoble, Lenore (2003). Language Policy of the Soviet Union. Kluwer Academic Publishers. p. 143. ISBN 1-4020-1298-5.
  4. Vegetation Degradation in Central Asia Under the Impact of Human Activities, Nikolaĭ Gavrilovich Kharin, page 49, 2002
  5. Peter B.Golden (2011) Central Asia in World History, p.115

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]