ปฏิบัติการราชนาวิกโยธิน

พิกัด: 48°50′N 7°58′E / 48.83°N 7.96°E / 48.83; 7.96
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิบัติการราชนาวิกโยธิน
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง
Soufflenheim and vicinity
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map บรรทัดที่ 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/ฝรั่งเศส" does not exist
ขอบเขตปฏิบัติการกลยุทธวิธี
ตำแหน่งแม่น้ำไรน์, โมเซล, Meuse
48°50′N 7°58′E / 48.83°N 7.96°E / 48.83; 7.96
โดยวินสตัน เชอร์ชิล
ผู้บังคับบัญชาCommander G. R. S. Wellby.
วัตถุประสงค์การขัดขวางแม่น้ำและคลองของเยอรมันด้วยทุ่นระเบิดใต้น้ำลึก
วันที่ตุลาคม ค.ศ. 1940 (1940-10)
ผู้ลงมือMilitary Intelligence Research [MIR(c)], ราชนาวี คู่กรณี
ผลลัพธ์การระงับชั่วคราวของการจราจรแม่น้ำและความเสียหายให้กับอุสรรคแก่เรือและสะพาน

ปฏิบัติการราชนาวิกโยธิน เป็นปฏิบัติการทางทหารในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1940 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในยุทธการที่ฝรั่งเศส(10 พฤษภาคม-25 มิถุนายน ค.ศ. 1940) ทุ่นระเบิดใต้น้ำลึกได้ถูกปล่อยให้ไหลไปตามแม่น้ำจากฝรั่งเศสเข้าสู่เยอรมนี เพื่อทำลายสะพาน เรือ และการขนส่งทางน้ำอื่นๆ ภายหลังจากการเลื่อนออกไปหลายครั้งที่ยืนยันโดยรัฐบาลฝรั่งเศส ด้วยความเกรงกลัวการตอบโต้ของเยอรมัน ปฏิบัติการครั้งนี้ได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 เมื่อเยอรมันเข้ารุกรานทางตะวันตกได้เริ่มขึ้น ทุ่นระเบิดได้ก่อให้เกิดความเสียหายและความล่าช้าในการจราจรแม่น้ำบนแม่น้ำไรน์ของเยอรมัน จากคาร์ลสรูเออและโคเบลนซ์ และสะพานที่เสียหายและอุปสรรคในการป้องกัน ส่วนหนึ่งของแผนการเป็นแผนของกองทัพอากาศหลวง(RAF) เครื่องบินทิ้งระเบิดจะทิ้งทุ่นระเบิดลงไปในแม่น้ำและคลองในคืนแสงจันทร์ แต่ครั้งนี้แทบยังไม่ได้เริ่มต้นเมื่อการทัพได้สิ้นสุดลง ด้วยความสำเร็จของแผนการได้ตกเป็นโมฆะโดยความปราชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรและการสงบศึกระหว่างฝรั่งเศส-เยอรมัน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1940