บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์
ชื่อก่อนหน้าบีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ไฟนัลส์
กีฬาแบดมินตัน
ฤดูกาลแรก2018
สปอนเซอร์เอชเอสบีซี
การแข่งขันที่เกี่ยวข้องบีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์

บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ (อังกฤษ: BWF World Tour Finals) หรือชื่อทางการว่า เอชเอสบีซี บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ (อังกฤษ: HSBC BWF World Tour Finals) ซึ่งมาแทน บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ไฟนัลส์ เป็นการแข่งขันแบดมินตันประจำปีที่จัดขึ้นในเดือนธันวาคมของทุกปี โดยผู้เล่นที่มีคะแนนสูงสุดจากการแข่งขันของบีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ในปีปฏิทินนั้น ผู้เข้าร่วมจะแข่งขันเพื่อชิงเงินรางวัลรวมอย่างน้อย 1,500,000 เหรียญสหรัฐ

คุณสมบัติ[แก้]

เงินรางวัล[แก้]

การแข่งขันเสนอเงินรางวัลรวมขั้นต่ำ 1,500,000 ดอลลาร์สหรัฐ[1] เงินรางวัลแบ่งตามสูตรต่อไปนี้:[2]

รอบ ชายเดี่ยว หญิงเดี่ยว ชายคู่ หญิงคู่ คู่ผสม
ชนะเลิศ 8.00% 8.00% 8.40% 8.40% 8.40%
รองชนะเลิศ 4.00% 4.00% 4.00% 4.00% 4.00%
รอบรองชนะเลิศ 2.00% 2.00% 2.00% 2.00% 2.00%
อันดับที่ 3 ของกลุ่ม 1.10% 1.10% 1.30% 1.30% 1.30%
อันดับที่ 4 ของกลุ่ม 0.60% 0.60% 0.70% 0.70% 0.70%

คะแนนอันดับโลก[แก้]

ด้านล่างนี้เป็นตารางคะแนนสำหรับแต่ละรอบของการแข่งขันตามระบบการให้คะแนนของบีดับเบิลยูเอฟ สำหรับการแข่งขันบีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์[3]

ชนะเลิศ รองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ของกลุ่ม อันดับที่ 4 ของกลุ่ม
12,000 10,200 8,400 7,500 6,600

ผลการแข่งขัน[แก้]

ครั้งที่ ปี เมืองเจ้าภาพ ชายเดี่ยว หญิงเดี่ยว ชายคู่ หญิงคู่ คู่ผสม
1 2018 กว่างโจว จีน ฉือ ยฺหวี่ฉี อินเดีย พี. วี. สินธุ จีน หลี่ จฺวิ้นฮุ่ย
จีน หลิว ยฺหวี่เฉิน
ญี่ปุ่น มิซากิ มัตสึโตโมะ
ญี่ปุ่น อายากะ ทากาฮาชิ
จีน หวัง อี้ลฺวี่
จีน หวง ตงผิง
2 2019 ญี่ปุ่น เค็นโตะ โมโมตะ จีน เฉิน อวี่เฟย อินโดนีเซีย โมฮัมเมด อะฮ์ซัน
อินโดนีเซีย เฮนดรา เซอตียันวัน
จีน เฉิน ชิงเฉิน
จีน เจี่ย อีฝาน
จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉฺยง
3 2020 นนทบุรี เดนมาร์ก อาเนิร์ส แอนทอนเซิน จีนไทเป ไต้ จืออิ่ง จีนไทเป หลี่ หยาง
จีนไทเป หวัง ฉีหลิน
เกาหลีใต้ อี โซ-ฮี
เกาหลีใต้ ชิน ซึง-ชัน
ไทย เดชาพล พัววรานุเคราะห์
ไทย ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย
4 2021 บาหลี เดนมาร์ก วิกเทอร์ แอกเซิลเซิน เกาหลีใต้ อัน เซ-ย็อง ญี่ปุ่น ทากูโระ โฮกิ
ญี่ปุ่น ยูโงะ โคบายาชิ
เกาหลีใต้ คิม โซ-ย็อง
เกาหลีใต้ คง ฮี-ย็อง
5 2022 กรุงเทพมหานคร[a] ญี่ปุ่น อากาเนะ ยามางูจิ จีน หลิว ยฺหวี่เฉิน
จีน โอว เซฺวี่ยนอี้
จีน เฉิน ชิงเฉิน
จีน เจี่ย อีฝาน
จีน เจิ้ง ซีเหวย์
จีน หวง หย่าฉฺยง
  1. การแข่งขันนี้เดิมจะแข่งขันในกว่างโจว ต่อมาถูกย้ายเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศจีน[4]

ประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ลำดับ ประเทศ ชายเดี่ยว หญิงเดี่ยว ชายคู่ หญิงคู่ คู่ผสม รวม
1  จีน 1 1 2 2 3 9
2  ญี่ปุ่น 1 1 1 1 4
3  เดนมาร์ก 3 3
 เกาหลีใต้ 1 2 3
5  จีนไทเป 1 1 2
 ไทย 2 2
7  อินเดีย 1 1
 อินโดนีเซีย 1 1
รวม 5 5 5 5 5 25

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Alleyne, Gayle (19 March 2017). "BWF Launches New Events Structure". Badminton World Federation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2017. สืบค้นเมื่อ 29 November 2017.
  2. "Distribution of Prize Money (All Levels)" (PDF). 20 July 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2017. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
  3. "World Ranking System" (PDF). Badminton World Federation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 January 2018. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018.
  4. "HSBC BWF World Tour Finals 2022 Relocated to Bangkok". Badminton World Federation. 15 November 2022. สืบค้นเมื่อ 15 November 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]