ข้ามไปเนื้อหา

ถุนเถียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ถุนเถียน
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน屯田
ความหมายตามตัวอักษร"การส่งทหารไปรักษาการณ์บนที่นา"
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ
ภาษาจีน屯墾
ความหมายตามตัวอักษร"การส่งทหารไปรักษาการณ์และเรียกคืนดินแดนรกร้าง"
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ (2)
ภาษาจีน农墾
ความหมายตามตัวอักษร"การทำนาและเรียกคืนดินแดนรกร้าง"
ชื่อภาษาเวียดนาม
ภาษาเวียดนามđồn điền
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
둔전
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
ฮิรางานะとんでん
การถอดเสียง
โรมาจิtonden

ถุนเถียน (屯田) หรือ ถุนเขิ่น (屯墾) เป็น "นิคมการทหาร-การเกษตร"[1][2]ที่ชายแดนรูปแบบหนึ่งในประวัติศาสตร์จีน กองทหารถูกส่งไปภูมิประเทศทุรกันดารในชายแดนจีนเพื่อปรับเปลี่ยนที่ดินที่ไม่มีการเพาะปลูกให้กลายเป็นอาณานิคมแบบตั้งถิ่นฐานที่ทำการเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง กล่าวอีกนัยหนึ่งคือทหารมีอีกบทบาทเป็นเกษตรกร ระบบนี้ยังถูกปรับใช้ในระบอบการปกครองครองอื่น ๆ ทั่วเขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก

อ้างอิง[แก้]

  1. Muscolino, Micah S. (2010). "Refugees, Land Reclamation, and Militarized Landscapes in Wartime China: Huanglongshan, Shaanxi, 1937-45". Journal of Asian Studies. 69 (2): 458, 459. doi:10.1017/S0021911810000057. ISSN 0021-9118. S2CID 162487893. To take advantage of these natural benefits, Shaanxi needed to "set aside Huanglongshan as a military-agricultural colony (tuntian) and transfer troops to cultivate it, imitating the ancient system of supporting the military through agriculture". [...] First priority in developing China's northwestern frontier was "research on military agricultural colonies (yanjiu tunken)".
  2. Frank, Mark (2021-04-22). "Chinese Empire after Empire: Agrarian Colonization on the Twentieth-Century Frontier". The Council on East Asian Studies at Yale University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-08. Proponents of this strategy drew inspiration from the imperial institution of tuntian (colonial fields) in formulating a modern vision of tunken, which I interpret as agrarian colonization.