ข้ามไปเนื้อหา

ชาวสานตาล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชาวสานตาล
ᱥᱟᱱᱛᱟᱲ ᱦᱚᱲ
ชาวสานตาลสวมชุดพื้นเมืองกำลังเฉลิมฉลอง บาฮาปาราบ
ประชากรทั้งหมด
ป. 7.4 ล้าน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 อินเดีย •  บังกลาเทศ •  เนปาล
 อินเดีย:
       รัฐฌารขัณฑ์

2,752,723[1]
       รัฐเบงกอลตะวันตก2,512,331[1]
       รัฐโอฑิศา894,764[1]
       รัฐพิหาร406,076[1]
       รัฐอัสสัม213,139[2]
 บังกลาเทศ300,061 (2001)[3]
 เนปาล51,735[4]
ภาษา
สานตาล
ศาสนา
ส่วนใหญ่
ศาสนาฮินดู (63%)[5]
ส่วนน้อย
ศาสนาพื้นถิ่น (สารนธรรม) (31%)
ศาสนาคริสต์ (5%), อื่น ๆ (1%)[5]
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
มุนดา • โฮ • จุยัง • ฆาริยา • ซาวารา • โกรกู • ภูมีจ

สานตาล (อักษรโรมัน: Santal หรือ Santhal) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุนดาในเอเชียใต้[3] ถือเป็นชนเผ่าที่ขนาดใหญ่ที่สุดในรัฐฌารขัณฑ์ของประเทศอินเดีย และมีประชากรอยู่ในรัฐอัสสัม รัฐตริปุระ รัฐพิหาร รัฐฉัตตีสครห์ รัฐโอฑิศา และรัฐเบงกอลตะวันตก และเป็นชนเผ่ากลุ่มน้อยที่สำคัญของภาคราชชาฮีและภาครังปุระของประเทศบังกลาเทศ นอกจากนี้ยังมีประชากรในประเทศเนปาลและประเทศภูฏาน ภาษาที่ใช้คือภาษาสานตาลซึ่งเป็นภาษาที่มีการใช้มากที่สุดในกลุ่มภาษามุนดา

คำว่าสานตาลเป็นไปได้ว่าเป็นคำที่เรียกโดยคนนอก (exonym) จากภาษาเบงกอล ซึ่งแปลว่าผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ Saont (ปัจจุบันคือสิลดา มณมิทนาปุระซึ่งถือกันว่าเป็นมาตุภูมิของชาวสานตาล[6][7]) ส่วนชื่อเรียกชาติพันธุ์ (ethnonym) คือ Hor Hopon ("บุตรของมนุษยชาติ")[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "A-11 Individual Scheduled Tribe Primary Census Abstract Data and its Appendix". censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 18 November 2017.
  2. "C-16 Population By Mother Tongue". censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  3. 3.0 3.1 Cavallaro, Francesco; Rahman, Tania. "The Santals of Bangladesh" (PDF). ntu.edu.sg. Nayang Technical University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 November 2016. สืบค้นเมื่อ 17 November 2017.
  4. "National Population and Housing Census 2011: Social Characteristics Tables" (PDF). Nepal Census. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-03-14. สืบค้นเมื่อ 2022-07-21 – โดยทาง Government of Nepal.
  5. 5.0 5.1 "ST-14 Scheduled Tribe Population By Religious Community - Jharkhand". census.gov.in. สืบค้นเมื่อ 3 November 2019.
  6. Schulte-Droesch 2018, p. 3.
  7. Census 1961, West Bengal – District census handbook, Midnapore (PDF). Vol. I. The superintendent, government printing, West Bengal. 1966. p. 58.
  8. Somers 1979, p. 5.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Bodding, P. O. Santal Folk Tales. Cambridge, Massachusetts: H. Aschehoug; Harvard University Press, 1925.
  • Bodding, P. O. Santal Riddles and Witchcraft among the Santals. Oslo: A. W. Brøggers, 1940.
  • Bodding, P. O. A Santal Dictionary (5 volumes), 1933–36 Oslo: J. Dybwad, 1929.
  • Bodding, P. O. Materials for a Santali Grammar I, Dumka 1922
  • Bodding, P. O. Studies in Santal Medicine and Connected Folklore (3 volumes), 1925–40
  • Bompas, Cecil Henry, and Bodding, P. O. Folklore of the Santal Parganas. London: D. Nutt, 1909. Full text at Project Gutenberg.
  • Chakrabarti, Dr. Byomkes, A Comparative Study of Santali and Bengali, KP Bagchi, Calcutta, 1994
  • Culshaw, W. J. Tribal Heritage; a Study of the Santals. London: Lutterworth Press, 1949.
  • Edward Duyker Tribal Guerrillas: The Santals of West Bengal and the Naxalite Movement, Oxford University Press, New Delhi, 1987, pp. 201, SBN 19 561938 2.
  • Orans, Martin. "The Santal; a Tribe in Search of a Great Tradition." Based on thesis, University of Chicago., Wayne State University Press, 1965.
  • Prasad, Onkar. Santal Music: A Study in Pattern and Process of Cultural Persistence, Tribal Studies of India Series; T 115. New Delhi: Inter-India Publications, 1985.
  • Roy Chaudhury, Indu. Folk Tales of the Santals. 1st ed. Folk Tales of India Series, 13. New Delhi: Sterling Publishers, 1973.
  • Troisi, J. The Santals: A Classified and Annotated Bibliography. New Delhi: Manohar Book Service, 1976.
  • ———. Tribal Religion: Religious Beliefs and Practices among the Santals. New Delhi: Manohar, 2000.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]