ชงโคนา
หน้าตา
ชงโคนา | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Rosids |
อันดับ: | Fabales |
วงศ์: | Fabaceae |
สกุล: | Bauhinia |
สปีชีส์: | B. racemosa |
ชื่อทวินาม | |
Bauhinia racemosa Lam. |
ชงโคนา หรือชงโคขี้ไก่ หรือส้มเสี้ยว ชื่อวิทยาศาสตร์: Bauhinia racemosa (ฮินดี: कठमूली / झिंझेरी; มราฐี: अपटा / सोना / श्वेत-कांचन; ทมิฬ: ஆத்தி atti / தாதகி tataki; มลยาฬัม: അരംപാലി arampaali / കുടബുളി kutabuli / മലയത്തി malayaththi; เตลูกู: తెల్ల ఆరెచెట్టు tella arecettu; กันนาดา: ಅಪ್ತಾ / ಅರಳುಕದುಮನ್ದರ; เบงกอล: banraji, banraj; อูรดู: Gul-e-anehnal; และสันสกฤต: यमलपत्रक / युग्मपत्र) จัดเป็นพืชสมุนไพรและมีความสำคัญทางศาสนา เป็นพืชท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออกดอกช่วงกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม
ในรัฐมหาราษฏระ ใช้ใบของชงโคนามาแลกเปลี่ยนกันในเทศกาลทุศเสหระ ซึ่งมีความหมายถึงการมอบพระผู้เป็นเจ้าให้แก่กัน[1] นอกจากนั้น ในอินเดียยังใช้ใบชงโคนาเป็นส่วนผสมในบุหรี่พื้นเมือง[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Phalak, Paresh Prashant. "The Real Gold". สืบค้นเมื่อ 25 October 2012.
- ↑ "Bidi Leaf Tree". Flowers of India.