กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยกน้ำหนัก
ในโอลิมปิกครั้งที่ 28
วันที่14-20 สิงหาคม พ.ศ. 2547
จำนวนนักกีฬา249  คน จาก 79 ประเทศ
← 2000
2008 →

การแข่งขันกีฬายกน้ำหนักในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จัดการแข่งขันที่เอเธนส์ ประเทศกรีซ มีการชิงชัย 15 เหรียญทอง

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

ประเภทชาย[แก้]

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
56 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Halil Mutlu
 ประเทศตุรกี
Wu Meijin
 ประเทศจีน
Sedat Artuç
 ประเทศตุรกี
62 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Shi Zhiyong
 ประเทศจีน
Le Maosheng
 ประเทศจีน
Israel José Rubio
 ประเทศเวเนซุเอลา
69 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Zhang Guozheng
 ประเทศจีน
Lee Bae-young
 ประเทศเกาหลีใต้
Nikolaj Pešalov
 สาธารณรัฐโครเอเชีย
77 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Taner Sağır
 ประเทศตุรกี
Sergey Filimonov
 ประเทศคาซัคสถาน
Reyhan Arabacıoğlu
 ประเทศตุรกี
85 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Giorgi Asanidze
 ประเทศจอร์เจีย
Andrei Rybakou
 สาธารณรัฐเบลารุส
Pyrros Dimas
 ประเทศกรีซ
94 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Milen Dobrev
 ประเทศบัลแกเรีย
Khadzhimurat Akkayev
 ประเทศรัสเซีย
Eduard Tyukin
 ประเทศรัสเซีย
105 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Dmitry Berestov
 ประเทศรัสเซีย
Ihor Razoronov
 ประเทศยูเครน
Gleb Pisarevskiy
 ประเทศรัสเซีย
+105 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Hossein Rezazadeh
 ประเทศอิหร่าน
Viktors Ščerbatihs
 สาธารณรัฐลัตเวีย
Velichko Cholakov
 ประเทศบัลแกเรีย

ประเภทหญิง[แก้]

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
48 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Nurcan Taylan
 ประเทศตุรกี
Li Zhuo
 ประเทศจีน
Aree Wiratthaworn
 ประเทศไทย
53 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Udomporn Polsak
 ประเทศไทย
Raema Lisa Rumbewas
 ประเทศอินโดนีเซีย
Mabel Mosquera
 สาธารณรัฐโคลอมเบีย
58 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Chen Yanqing
 ประเทศจีน
Ri Song-hui
 ประเทศเกาหลีเหนือ
Wandee Kameaim
 ประเทศไทย
63 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Nataliya Skakun
 ประเทศยูเครน
Hanna Batsiushka
 สาธารณรัฐเบลารุส
Tatsiana Stukalava
 สาธารณรัฐเบลารุส
69 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Liu Chunhong
 ประเทศจีน
Eszter Krutzler
 ประเทศฮังการี
Zarema Kasayeva
 ประเทศรัสเซีย
75 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Pawina Thongsuk
 ประเทศไทย
Natalia Zabolotnaya
 ประเทศรัสเซีย
Valentina Popova
 ประเทศรัสเซีย
+75 kg
ข้อมูลการแข่งขัน
Tang Gonghong
 ประเทศจีน
Jang Mi-ran
 ประเทศเกาหลีใต้
Agata Wróbel
 ประเทศโปแลนด์

ตารางสรุปเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ประเทศจีน จีน (CHN) 5 3 0 8
2 ประเทศตุรกี ตุรกี (TUR) 3 0 2 5
3 ประเทศไทย ไทย (THA) 2 0 2 4
4 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS) 1 2 4 7
5 ประเทศยูเครน ยูเครน (UKR) 1 1 0 2
6 ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย (BUL) 1 0 1 2
7 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย (GEO) 1 0 0 1
ประเทศอิหร่าน อิหร่าน (IRI) 1 0 0 1
9 สาธารณรัฐเบลารุส เบลารุส (BLR) 0 2 1 3
10 ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR) 0 2 0 2
11 ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN) 0 1 0 1
ประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย (INA) 0 1 0 1
ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน (KAZ) 0 1 0 1
สาธารณรัฐลัตเวีย ลัตเวีย (LAT) 0 1 0 1
ประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (PRK) 0 1 0 1
16 สาธารณรัฐโคลอมเบีย โคลอมเบีย (COL) 0 0 1 1
สาธารณรัฐโครเอเชีย โครเอเชีย (CRO) 0 0 1 1
ประเทศกรีซ กรีซ (GRE) 0 0 1 1
ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ (POL) 0 0 1 1
ประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา (VEN) 0 0 1 1
รวม 15 15 15 45

อ้างอิง[แก้]