กีฬายกน้ำหนักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยกน้ำหนัก
ในโอลิมปิกครั้งที่ 23
วันที่29 กรกฎาคม พ.ศ. 2527
จำนวนนักกีฬา186  คน จาก 48 ประเทศ
← 1980
1988 →

การแข่งขันกีฬายกน้ำหนักในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 จัดการแข่งขันที่ลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการชิงชัย 10 เหรียญทอง

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
Flyweight
–52 kg
รายละเอียด
Zeng Guoqiang
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Zhou Peishun
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Kazushito Manabe
 ประเทศญี่ปุ่น
Bantamweight
52–56 kg
รายละเอียด
Wu Shude
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Lai Runming
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Masahiro Kotaka
 ประเทศญี่ปุ่น
Featherweight
56–60 kg
รายละเอียด
Chen Weiqiang
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Gelu Radu
 ประเทศโรมาเนีย
Tsai Wen-Yee
 ประเทศจีนไทเป
Lightweight
60–67.5 kg
รายละเอียด
Yao Jingyuan
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
Andrei Socaci
 ประเทศโรมาเนีย
Jouni Grönman
 ประเทศฟินแลนด์
Middleweight
67.5–75 kg
รายละเอียด
Karl-Heinz Radschinsky
 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
Jacques Demers
 ประเทศแคนาดา
Dragomir Cioroslan
 ประเทศโรมาเนีย
Light-heavyweight
75–82.5 kg
รายละเอียด
Petre Becheru
 ประเทศโรมาเนีย
Robert Kabbas
 ประเทศออสเตรเลีย
Ryoji Isaoka
 ประเทศญี่ปุ่น
Middle-heavyweight
82.5–90 kg
รายละเอียด
Nicu Vlad
 ประเทศโรมาเนีย
Dumitru Petre
 ประเทศโรมาเนีย
David Mercer
 สหราชอาณาจักร
First-heavyweight
90-100 kg
รายละเอียด
Rolf Milser
 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
Vasile Groapa
 ประเทศโรมาเนีย
Pekka Niemi
 ประเทศฟินแลนด์
Heavyweight
100-110 kg
รายละเอียด
Norberto Oberburger
 ประเทศอิตาลี
Stefan Tasnadi
 ประเทศโรมาเนีย
Guy Carlton
 สหรัฐ
Super heavyweight
+110 kg
รายละเอียด
Dean Lukin
 ประเทศออสเตรเลีย
Mario Martinez
 สหรัฐ
Manfred Nerlinger
 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

ตารางสรุปเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สาธารณรัฐประชาชนจีน จีน (CHN) 4 2 0 6
2 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย (ROU) 2 5 1 8
3 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก (FRG) 2 0 1 3
4 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS) 1 1 0 2
5 ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA) 1 0 0 1
6 สหรัฐ สหรัฐ (USA) 0 1 1 2
7 ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 0 1 0 1
8 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 0 0 3 3
9 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 0 0 2 2
10 ประเทศจีนไทเป จีนไทเป (TPE) 0 0 1 1
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 0 0 1 1
รวม 10 10 10 30

อ้างอิง[แก้]