การเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จิ้งเหลนชนิด Aspidoscelis neomexicanus (กลาง) มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (และเป็นตัวเมียล้วน) ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการผสมข้ามสายพันธุ์ของจิ้งเหลน 2 ชนิด คือ A. inornatus (ซัาย) และ A. tigris (ขวา) ซึ่งทั้งสองสายพันธุ์หลัง มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและมีสองเพศ

การเจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ (อังกฤษ: Parthenogenesis;/ˌpærθənˈɛnəsɪs/) เป็นการสืบพันธุ์ที่พบในพวกไรน้ำ พวกผึ้งหรือตัวต่อ เป็นต้น เป็นการกระบวนการสืบพันธุ์โดยเกิดการเจริญเติบโตของไข่ (Egg) หรือเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจะเจริญไปเป็นตัวอ่อน หรือเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ โดยไม่ได้รับการผสมพันธุ์หรือเกิดการปฏิสนธิกับเซลล์สืบพันธุ์ของเพศผู้ คำนี้มาจากภาษากรีก παρθένος, parthenos, หมายถึง "พรหมจรรย์", และ γένεσις, genesis, หมายถึง "เกิด".[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. Liddell, Scott, Jones. γένεσις A.II, A Greek-English Lexicon, Oxford: Clarendon Press, 1940. q.v..

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]