การล้อมลารอแชลของฝ่ายสัมพันธมิตร
หน้าตา
การปิดล้อมของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ลารอแชล (ปี ค.ศ. 1944–1945) | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
รถหุ้มเกราะของกองทัพฝรั่งเศสซึ่งได้เข้าร่วมในการปลดปล่อยลารอแชล ในปี ค.ศ. 1945. Musée d'Orbigny-Bernon. | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
เยอรมนี |
ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Vice-Admiral Ernst Schirlitz | General de Larminat | ||||||
กำลัง | |||||||
22,000 |
การปิดล้อมของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ลารอแชล เกิดขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1944-45 เมื่อกองทหารของฝ่ายสัมพันธมิตรได้บุกครองฝรั่งเศส[1][2] ลารอแชลเป็นฐานทัพเรือที่สำคัญของเยอรมันบนมหาสมุทรแอตแลนติกสำหรับเรือผิวน้ำและเรือดำน้ำ จากการทัพของเรืออูได้ถูกเปิดฉากขึ้น[3]
ลารอแชลและท่าเรืออื่นๆ เช่น โรยัน และแซ็ง-นาแซร์ กลายเป็นแอตแลนติกพ็อกเก็ต ซึ่งยังอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมัน ซึ่งได้ถูกอ้อมโดยแรงผลักดันหลักของการบุกครองของฝ่ายสัมพันธมิตร เช่นเดียวกับดันเคิร์กบนทะเลตอนเหนือ เมืองแห่งนี้ได้รับการปลดปล่อยเมื่อสงครามใกล้จะสิ้นสุดลง เก้าเดือนหลังจากกรุงปารีสได้รับการปลดปล่อย ภายหลังจากที่เยอรมันได้ประกาศยอมจำนน เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Dallas, Gregor. 1945: The War That Never Ended. p. 364.
- ↑ Avella, Natalie. The French Property Buyer's Handbook. p. 362.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBarbour