ข้ามไปเนื้อหา

การคุกคาม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การคุกคาม เป็นพฤติกรรมต่าง ๆ ที่น่ารังเกียจและทำให้ความหวาดกลัว[1] ส่วนมากแล้วการคุกคามจะมีลักษณะเป็นการดูหมิ่นเหยียดหยามหรือทำให้ผู้อื่นอับอาย ส่วนในทางกฎหมายจะมีลักษณะเป็นการก่อกวน สร้างความไม่พอใจ ความไม่สบายใจและการข่มขู่ การคุกคามยังการเลือกปฎิบัติเพื่อทำให้บุคคลอื่น ๆ เสียสิทธิประโยชน์ของบุคคลของตน หากมีการคุกคามบ่อยครั้งจะเป็นการยกระดับไปสู่การข่มเหงรังแก

ชนิด

[แก้]

อิเล็กทรอนิกส์

[แก้]

เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ว่ารัฐบาลจะเป็นทำการทรมาน โจมตีและคุกคามเป้าหมายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือการทรมานทางจิตโดยใช้รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าหรืออาวุธคลื่นอิเล็คโทรแมคเนติก[2][3] ยกตัวอย่างเช่น นักจิทวิยาหลายคนได้เสนอหลักฐานการใช้คนที่มีอาการประสาทหลอนทางการได้ยิน โรคหลงผิด[4]หรือความผิดปกติทางจิตอื่น ๆ เพื่อทำลายชื่อเสียงเป้าหมายบนชุมชนออนไลน์[2][5]

โลกออนไลน์

[แก้]
การจำแนกการระรานทางไซเบอร์[6] สถิติจากหน่วยงานป้องกันโรคติดต่อในสหรัฐอเมริกาตัวอย่างจากวัยรุ่นสหรัฐ ค.ศ. 2008[7]

เป็นการคุกคามโดยใช้คำหยาบ การดูถูกและความคิดเห็นเชิงลบต่อเป้าหมาย เช่นพูดดูถูกสำเนียงภาษา เชื้อชาติ เพศ ศาสนาของเป้าหมายซึ่งมักเกิดขึ้นในห้องสนทนาออนไลน์ นอกจากนี้ยังมีการนำรูปภาพส่วนตัว รูปครอบครัวของเหยือไปโพสต์บนโซเชียลมีเดียเพื่อให้เกิดความอับอายและเกิดความทุกข์

ตำรวจ

[แก้]

คือการที่ตำรวจหรือผู้บังคับใช้กฎหมายปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อเหยื่อโดยการใช้กำลังเกิดกว่าเหตุ การบังคับขู่เข็ญ เหยียดสีผิวเชื้อชาติและเพศหรื่ออื่น ๆ ที่ดูเหมือนเป็นการเลือกปฏิบัติ

เชื้อชาติ

[แก้]

เป็นการคุกคามบุคคลที่มีเชื้อชาติต่างจากตน โดนอาจจะเป็นการคุกคามในเชิงเหยีดหนือแสดงท่าทางที่ทำให้ผุ้ถูกคุกคามรู้สึกอาย

ศาสนา

[แก้]

เป็นการคุกคามบุคคลที่มีความเชื้อและศาสนาต่างจากตนเอง การคุกคามแบบนี้อาจรวมถึงการบังคับให้พูดโดยไม่สมัครใจ

เพศ

[แก้]

ลักษณะเป็นการแสดงพฤติกรรมที่ไม่ดีทั้งกายและวาจาต่อเพศของเหยื่อ การคุกคามเช่นนี้เกิดขึ้นได้ทุกที่ แต่มักเกิดขึ้นในที่ทำงาน โรงเรียน และกองทัพ ซึ่งส่วนมากแล้วมักเกิดขึ้นกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย[8][9]

อ้างอิง

[แก้]
  1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
  2. 2.0 2.1 Weinberger, Sharon (January 14, 2007). "Mind Games". Washington Post. สืบค้นเมื่อ 12 January 2014.
  3. Kershaw, Sarah (November 12, 2008). "Sharing Their Demons on the Web". The New York Times.
  4. Monroe, Angela (November 12, 2012). "Electronic Harassment: Voices in My Mind". KMIR News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 13, 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-02-25.
  5. Olga Pochechueva. EMR Deliberately Directed At You — Moscow: LOOM Publishing, 2015 (in Russian). — 30 p.ISBN 978-5-906072-09-2
  6. Hertz, M. F.; David-Ferdon, C. (2008). Electronic Media and Youth Violence: A CDC Issue Brief for Educators and Caregivers (PDF). Atlanta (GA): Centers for Disease Control. p. 9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-02-03.
  7. Ybarra, Michele L.; Diener-West, Marie; Leaf, Philip J. (December 2007). "Examining the overlap in internet harassment and school bullying: implications for school intervention". Journal of Adolescent Health. 41 (6 Suppl 1): S42–S50. doi:10.1016/j.jadohealth.2007.09.004. PMID 18047944.
  8. Maeve Duggan. PEW Research Center. 2014. "Online Harassment". "http://www.pewinternet.org/2014/10/22/online-harassment/".
  9. "EEOC Home Page". www.eeoc.gov. สืบค้นเมื่อ 2016-04-29.