ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฤษณา ไกรสินธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''กฤษณา ไกรสินธุ์''' (Krisana Kraisintu) (เกิด พ.ศ. 2495) เภสัชกรชาวไทยที่อุทิศ...
 
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''กฤษณา ไกรสินธุ์''' (Krisana Kraisintu) (เกิด [[พ.ศ. 2495]]) [[เภสัชกร]]ชาวไทยที่อุทิศตนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยใน[[ทวีปเอเชีย]]และ[[ทวีปแอฟริกา]] ให้สามารถเข้าถึงยารักษา[[โรคเอดส์]] [[โรคมาลาเรีย]] [[โรคอีโบล่า]] ที่มีคุณภาพ ในราคาถูก ได้รับการยกย่องจากนิตยสาร[[รีดเดอร์สไดเจสต์]] ให้เป็น '''บุคคลแห่งปีของเอเชีย''' ''(Asian of the Year)'' ประจำปี พ.ศ. 2551
'''กฤษณา ไกรสินธุ์''' (Krisana Kraisintu) (เกิด [[พ.ศ. 2495]]) [[เภสัชกร]]ชาวไทยที่อุทิศตนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยใน[[ทวีปเอเชีย]]และ[[ทวีปแอฟริกา]] ให้สามารถเข้าถึงยารักษา[[โรคเอดส์]] [[โรคมาลาเรีย]] [[โรคอีโบล่า]] ที่มีคุณภาพ ในราคาถูก ได้รับการยกย่องจากนิตยสาร[[รีดเดอร์สไดเจสต์]] ให้เป็น '''บุคคลแห่งปีของเอเชีย''' '' (Asian of the Year) '' ประจำปี พ.ศ. 2551

ดร.กฤษณา เป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านไวรัสเอดส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2535-2538 จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ Zidovudine หรือ AZT และ GPO-VIR ได้ในราคาถูกกว่าท้องตลาดหลายเท่า


== ประวัติ ==


ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เป็นชาว[[เกาะสมุย]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนราชินี]] และคณะเภสัชศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และไปศึกษาต่อปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ [[มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์]] และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ [[ประเทศอังกฤษ]] หลังจบการศึกษากลับมาทำงานเป็นอาจารย์ประจำ[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] จนเป็นหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมีในปี พ.ศ. 2524 และลาออกมาทำงานที่สถาบันวิจัยและพัฒนา [[องค์การเภสัชกรรม]] เป็นเวลา 22 ปี ตำแหน่งสุดท้ายเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา <ref name="nation">[http://www.nationmultimedia.com/search/page.arcview.php?clid=26&id=97754&usrsess= A saviour called Madam Generic] The Nation, Apr 23, 2004</ref>
ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เป็นชาว[[เกาะสมุย]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนราชินี]] และคณะเภสัชศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] และไปศึกษาต่อปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ [[มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์]] และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ [[ประเทศอังกฤษ]] หลังจบการศึกษากลับมาทำงานเป็นอาจารย์ประจำ[[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] จนเป็นหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมีในปี พ.ศ. 2524 และลาออกมาทำงานที่สถาบันวิจัยและพัฒนา [[องค์การเภสัชกรรม]] เป็นเวลา 22 ปี ตำแหน่งสุดท้ายเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา <ref name="nation">[http://www.nationmultimedia.com/search/page.arcview.php?clid=26&id=97754&usrsess= A saviour called Madam Generic] The Nation, Apr 23, 2004</ref>



ดร.กฤษณา เป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านไวรัสเอดส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2535-2538 จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ Zidovudine หรือ AZT และ GPO-VIR ได้ในราคาถูกกว่าท้องตลาดหลายเท่า
== งานในแอฟริกา ==


ในปี พ.ศ. 2542 ดร.กฤษณา ได้รับเชิญจาก[[องค์การอนามัยโลก]] ไปที่แอฟริกาเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตยาไวรัสเอดส์ให้กับผู้ป่วยที่นั่น หลังจากได้เห็นความยากลำบากของ เธอจึงตัดสินใจลาออกจากองค์การเภสัชกรรมในปี พ.ศ. 2545 และเดินทางไปแอฟริกา เพื่อช่วยดำเนินงานจนสามารถจัดตั้งโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ ชื่อ AFRIVIR ใน[[ประเทศคองโก]]ได้เป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2548 และผลิตยารักษามาลาเรีย ชื่อ Thai-Tanzunate ใน[[ประเทศแทนซาเนีย]]
ในปี พ.ศ. 2542 ดร.กฤษณา ได้รับเชิญจาก[[องค์การอนามัยโลก]] ไปที่แอฟริกาเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตยาไวรัสเอดส์ให้กับผู้ป่วยที่นั่น หลังจากได้เห็นความยากลำบากของ เธอจึงตัดสินใจลาออกจากองค์การเภสัชกรรมในปี พ.ศ. 2545 และเดินทางไปแอฟริกา เพื่อช่วยดำเนินงานจนสามารถจัดตั้งโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ ชื่อ AFRIVIR ใน[[ประเทศคองโก]]ได้เป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2548 และผลิตยารักษามาลาเรีย ชื่อ Thai-Tanzunate ใน[[ประเทศแทนซาเนีย]]


เรื่องราวของดร.กฤษณา ได้รับความสนใจจากสื่อต่างประเทศ จนถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดี ความยาว 45 นาที ''A Right to Live - Aidsmedication for Millions'' (2006) ได้รับรางวัลจาก[[เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์]] นอกจากนี้ยังถูกนำไปสร้างเป็น[[ละครบรอดเวย์]] ชื่อ ''Cocktail'' <ref>มาจากชื่อยา GPO-VIR ที่มีตัวยา 3 ชนิดรวมอยู่ในเม็ดเดียว และมีชื่อเรียกว่า "คอกเทล" </ref>
เรื่องราวของดร.กฤษณา ได้รับความสนใจจากสื่อต่างประเทศ จนถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดี ความยาว 45 นาที ''A Right to Live - Aidsmedication for Millions'' (2006) ได้รับรางวัลจาก[[เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์]] นอกจากนี้ยังถูกนำไปสร้างเป็น[[ละครบรอดเวย์]] ชื่อ ''Cocktail'' <ref>มาจากชื่อยา GPO-VIR ที่มีตัวยา 3 ชนิดรวมอยู่ในเม็ดเดียว และมีชื่อเรียกว่า "คอกเทล" </ref>


== รางวัล ==


ดร.กฤษณา ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (Global Scientist Award) ประจำปี พ.ศ. 2547 จาก Letten Foundation [[ประเทศนอร์เวย์]] <ref>[http://www.mtholyoke.edu/offices/comm/csj/040805/commencement.shtml]</ref> และได้รับการยกย่องจากนิตยสารรีดเดอร์สไดเจสต์ ให้เป็น '''บุคคลแห่งปีของเอเชีย''' ประจำปี พ.ศ. 2551 <ref>[http://www.readersdigest.co.th/rd/rdhtml/th/magazine/mag_content.jsp?p=2&cid=5290 Asian of the Year: The Medicine Maker]</ref>
ดร.กฤษณา ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (Global Scientist Award) ประจำปี พ.ศ. 2547 จาก Letten Foundation [[ประเทศนอร์เวย์]] <ref>[http://www.mtholyoke.edu/offices/comm/csj/040805/commencement.shtml]</ref> และได้รับการยกย่องจากนิตยสารรีดเดอร์สไดเจสต์ ให้เป็น '''บุคคลแห่งปีของเอเชีย''' ประจำปี พ.ศ. 2551 <ref>[http://www.readersdigest.co.th/rd/rdhtml/th/magazine/mag_content.jsp?p=2&cid=5290 Asian of the Year: The Medicine Maker]</ref>


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
<references/>
<references/>


==แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{imdb name|id=1663523|name=Krisana Kraisintu}}
* {{imdb name|id=1663523|name=Krisana Kraisintu}}
* [http://www.pharmalot.com/2007/04/one_womans_quest_to_fight_aids/ One Woman’s Quest To Fight AIDS ]
* [http://www.pharmalot.com/2007/04/one_womans_quest_to_fight_aids/ One Woman’s Quest To Fight AIDS ]
* [http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=153449&NewsType=1&Template=1 เจาะชีวิตฉายา 'เภสัชกรยิปซี 'ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์' 'บุคคลแห่งปีเอเชีย' นักสู้เอดส์]


{{เกิดปี|2495}}
{{เกิดปี|2495}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:50, 3 กุมภาพันธ์ 2551

กฤษณา ไกรสินธุ์ (Krisana Kraisintu) (เกิด พ.ศ. 2495) เภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ให้สามารถเข้าถึงยารักษาโรคเอดส์ โรคมาลาเรีย โรคอีโบล่า ที่มีคุณภาพ ในราคาถูก ได้รับการยกย่องจากนิตยสารรีดเดอร์สไดเจสต์ ให้เป็น บุคคลแห่งปีของเอเชีย (Asian of the Year) ประจำปี พ.ศ. 2551

ดร.กฤษณา เป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านไวรัสเอดส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2535-2538 จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ Zidovudine หรือ AZT และ GPO-VIR ได้ในราคาถูกกว่าท้องตลาดหลายเท่า


ประวัติ

ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และไปศึกษาต่อปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ ประเทศอังกฤษ หลังจบการศึกษากลับมาทำงานเป็นอาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จนเป็นหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมีในปี พ.ศ. 2524 และลาออกมาทำงานที่สถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม เป็นเวลา 22 ปี ตำแหน่งสุดท้ายเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา [1]


งานในแอฟริกา

ในปี พ.ศ. 2542 ดร.กฤษณา ได้รับเชิญจากองค์การอนามัยโลก ไปที่แอฟริกาเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตยาไวรัสเอดส์ให้กับผู้ป่วยที่นั่น หลังจากได้เห็นความยากลำบากของ เธอจึงตัดสินใจลาออกจากองค์การเภสัชกรรมในปี พ.ศ. 2545 และเดินทางไปแอฟริกา เพื่อช่วยดำเนินงานจนสามารถจัดตั้งโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ ชื่อ AFRIVIR ในประเทศคองโกได้เป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2548 และผลิตยารักษามาลาเรีย ชื่อ Thai-Tanzunate ในประเทศแทนซาเนีย

เรื่องราวของดร.กฤษณา ได้รับความสนใจจากสื่อต่างประเทศ จนถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดี ความยาว 45 นาที A Right to Live - Aidsmedication for Millions (2006) ได้รับรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์ นอกจากนี้ยังถูกนำไปสร้างเป็นละครบรอดเวย์ ชื่อ Cocktail [2]


รางวัล

ดร.กฤษณา ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (Global Scientist Award) ประจำปี พ.ศ. 2547 จาก Letten Foundation ประเทศนอร์เวย์ [3] และได้รับการยกย่องจากนิตยสารรีดเดอร์สไดเจสต์ ให้เป็น บุคคลแห่งปีของเอเชีย ประจำปี พ.ศ. 2551 [4]

อ้างอิง

  1. A saviour called Madam Generic The Nation, Apr 23, 2004
  2. มาจากชื่อยา GPO-VIR ที่มีตัวยา 3 ชนิดรวมอยู่ในเม็ดเดียว และมีชื่อเรียกว่า "คอกเทล"
  3. [1]
  4. Asian of the Year: The Medicine Maker

แหล่งข้อมูลอื่น