ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บิตคอยน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจาก enwiki
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สกุลเงิน
{{สั้นมาก}}
| image_1 = Bitcoin logo.svg
{{ช่วยดูหน่อย}}
| iso_code = XBT{{efn|ไม่เป็นทางการ.|group=infobox}}
'''บิตคอยน์''' ({{lang-en|Bitcoin}}) เป็น[[เงินตรา]]แบบ[[ดิจิทัล]] และระบบการชำระเงินแบบ[[เพียร์ทูเพียร์]] ที่ได้รับการพัฒนาโดย[[โปรแกรมเมอร์]] ได้เปิดเผยตัวตนจริงต่อสื่อเป็นครั้งแรก โดยเป็นชาวออสเตรเลียชื่อ "เครก สตีเวน ไรท์"{{อ้างอิง}} หลังจากที่ได้ใช้นามแฝงว่า "ซาโตชิ นากาโมโตะ" เป็นเวลาหลายปี เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี ค.ศ. 2009 โดยเป็นเงินตราที่เรียกว่า "Cryptocurrency" ใช้[[การเข้ารหัส]]ในการควบคุมการสร้างและโอนเงิน <ref>{{cite web | url=http://www.newyorker.com/online/blogs/elements/2013/04/the-future-of-bitcoin.html | title=The Bitcoin Boom | publisher=Condé Nast | work=The New Yorker | date=April 1, 2013 | accessdate=22 December 2013 | author=Bustillos, Maria | quote="...there seems to be a consensus forming around Bitcoin, capitalized, for the system, the software, and the network it runs on, and bitcoin, lowercase, for the currency itself"}}</ref>
| image_title_1 = Prevailing bitcoin logo
| issuing_authority = [[ระบบกระจายอำนาจ]]<ref name="JSC">{{cite web |url = https://www.fincen.gov/sites/default/files/2016-08/20131118.pdf |title = Statement of Jennifer Shasky Calvery, Director Financial Crimes Enforcement Network United States Department of the Treasury Before the United States Senate Committee on Banking, Housing, and Urban Affairs Subcommittee on National Security and International Trade and Finance Subcommittee on Economic Policy |publisher = Financial Crimes Enforcement Network |work = fincen.gov |date = 19 November 2013 |accessdate = 1 June 2014 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20161009183700/https://www.fincen.gov/sites/default/files/2016-08/20131118.pdf |archivedate = 9 October 2016}}</ref><ref name="tcdecentralized">{{cite news |last1 = Empson |first1 = Rip |title = Bitcoin: How An Unregulated, Decentralized Virtual Currency Just Became A Billion Dollar Market |url = https://techcrunch.com/2013/03/28/bitcoin-how-an-unregulated-decentralized-virtual-currency-just-became-a-billion-dollar-market/ |accessdate = 8 October 2016 |work = TechCrunch |publisher = AOL inc. |date = 28 March 2013 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20161009205955/https://techcrunch.com/2013/03/28/bitcoin-how-an-unregulated-decentralized-virtual-currency-just-became-a-billion-dollar-market/ |archivedate = 9 October 2016}}</ref>
| using_countries = ทั้วโลก
| inflation_title = [[Monetary inflation|Supply growth]]
| inflation_rate = 12.5 บิตคอยน์ต่อบล็อก (ประมาณทุก ๆ 10 นาที) จนถึงกลางปี พ.ศ. 2563<ref name=quantitative>{{cite web |title = Quantitative Analysis of the Full Bitcoin Transaction Graph |url = http://eprint.iacr.org/2012/584.pdf |publisher = Cryptology ePrint Archive |accessdate = 18 October 2012 |author = Ron Dorit |author2 = Adi Shamir |year = 2012 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20121021000150/http://eprint.iacr.org/2012/584.pdf |archivedate = 21 October 2012}}</ref> ต่อมา 6.25 บิตคอยน์ต่อบล็อกเป็นเวลา 4 ปี จนถึงการหารสอง (halving) ครั้งต่อไป การหารสองครั้งนี้นำเนินต่อจนถึง พ.ศ. 2653 – พ.ศ. 2683 เมื่อ 21 ล้านบิตคอยน์ออกสู่ตลาด
| inflation_source_date = พ.ศ. 2555
| subunit_ratio_1 = {{frac|1000}}
| subunit_name_1 = millibitcoin<ref name="mBTC">{{cite news |last1 = Siluk |first1 = Shirley |title = June 2 "M Day" promotes millibitcoin as unit of choice |url = http://www.coindesk.com/june-2-m-day-promotes-millibitcoin-as-unit-of-choice/ |accessdate = 25 May 2017 |work = CoinDesk |date = 2 June 2013 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20170807154739/https://www.coindesk.com/june-2-m-day-promotes-millibitcoin-as-unit-of-choice/ |archivedate = 7 August 2017}}</ref>
| subunit_ratio_2 = {{frac|100000000}}
| subunit_name_2 = satoshi<ref name="satoshi unit">{{cite web |title = Cracking the Bitcoin: Digging Into a $131M USD Virtual Currency |url = http://www.dailytech.com/Cracking+the+Bitcoin+Digging+Into+a+131M+USD+Virtual+Currency/article21878.htm |author = Jason Mick |publisher = Daily Tech |date = 12 June 2011 |accessdate = 30 September 2012 |deadurl = no |archiveurl = https://archive.is/20130120051306/http://www.dailytech.com/Cracking+the+Bitcoin+Digging+Into+a+131M+USD+Virtual+Currency/article21878.htm |archivedate = 20 January 2013}}</ref>
| symbol = ₿<ref name="unicode-10">{{cite web |url = http://www.unicode.org/versions/Unicode10.0.0/ |title = Unicode 10.0.0 |publisher = Unicode Consortium |date = 20 June 2017 |accessdate = 20 June 2017 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20170620130342/http://www.unicode.org/versions/Unicode10.0.0/ |archivedate = 20 June 2017}}</ref>
| subunit_name_3 = [[ชื่อที่ใช้ในการซื้อขาย]]
| symbol_subunit_3 = BTC
| footnotes = {{notelist|group=infobox}}
}}
[[File:Bitcoin explained in 3 minutes.webm|thumb|เกี่ยวกับบิตคอยน์ใน 3 นาที]]
'''บิตคอยน์''' ({{lang-en|Bitcoin}}) เป็น[[เงินตรา]]แบบ[[ดิจิทัล]] (cryptocurrency) และระบบการชำระเงินที่ใช้กันทั่วโลก<ref name="primer">{{cite web |url = http://mercatus.org/sites/default/files/Brito_BitcoinPrimer.pdf |title = Bitcoin: A Primer for Policymakers |publisher = George Mason University |work = Mercatus Center |year = 2013 |accessdate = 22 October 2013 |author1 = Jerry Brito |author2 = Andrea Castillo |lastauthoramp = yes |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20130921060724/http://mercatus.org/sites/default/files/Brito_BitcoinPrimer.pdf |archivedate = 21 September 2013}}</ref>{{rp|3}} บิตคอยน์เป็นสกุลเงินดิจิทัลแรกที่ใช้ระบบกระจายอำนาจ โดยไม่มี[[ธนาคารกลาง]]หรือแม้แต่ผู้คุมระบบแม้แต่คนเดียว<ref name="primer" />{{rp|1}}<ref name="ieeesurvey">{{cite journal|last1=Tschorsch|first1=Florian|last2=Scheuermann|first2=Björn|title=Bitcoin and Beyond: A Technical Survey on Decentralized Digital Currencies|journal=IEEE Communications Surveys & Tutorials|volume=18|issue=3|pages=2084–2123|url=http://ieeexplore.ieee.org/document/7423672/?reload=true|accessdate=24 October 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171024161444/http://ieeexplore.ieee.org/document/7423672/?reload=true|archivedate=24 October 2017}}</ref> เครือข่ายเป็นแบบ[[เพียร์ทูเพียร์]] และการซื้อขายเกิดขึ้นระหว่างจุดต่อเครือข่าย (network node)โดยตรง ผ่านการใช้[[วิทยาการเข้ารหัสลับ]]และไม่มีสื่อกลาง<ref name="primer" />{{rp|4}} การซื้อขายเหล่านี้ถูกตรวจสอบโดยรายการเดินบัญชีแบบสาธารณะที่เรียกว่า[[บล็อกเชน]] บิตคอยถูกพัฒนาโดยคนหรือกลุ่มคนที่ใช้นามแฝงว่า "ซาโตชิ นากาโมโตะ"<ref name="whoissn">{{cite news|url=https://www.economist.com/blogs/economist-explains/2015/11/economist-explains-1|title=Who is Satoshi Nakamoto?|last1=S.|first1=L.|date=2 November 2015|work=The Economist|accessdate=23 September 2016|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160821154511/http://www.economist.com/blogs/economist-explains/2015/11/economist-explains-1|archivedate=21 August 2016|deadurl=no|publisher=The Economist Newspaper Limited}}</ref> และถูกเผยแพร่ในรูปแบบของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซในปี พ.ศ. 2552<ref name="NY2011">{{cite web|last=Davis|first=Joshua|title=The Crypto-Currency: Bitcoin and its mysterious inventor|url=http://www.newyorker.com/magazine/2011/10/10/the-crypto-currency|work=The New Yorker|date=10 October 2011|accessdate=31 October 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20141101014157/http://www.newyorker.com/magazine/2011/10/10/the-crypto-currency|archivedate=1 November 2014}}</ref>


บิตคอยน์ถูกสร้างขึ้นใหม่ด้วย 'การขุด' (mining, การทำเหมือง) และสามารถถูกแลกเป็นสกุลเงินอื่น<ref>{{cite news|title=What is Bitcoin?|url=http://money.cnn.com/infographic/technology/what-is-bitcoin/|publisher=CNN Money|accessdate=16 November 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20151031113913/http://money.cnn.com/infographic/technology/what-is-bitcoin/|archivedate=31 October 2015}}</ref> สินค้า และบริการ ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 มีร้านค้ากว่า 100,000 ร้านยอมรับการจ่ายเงินด้วยบิตคอยน์<ref name="100tmerchants" /> งานวิจัยจาก[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]]ประมาณว่าใน พ.ศ. 2560 มีผู้ใช้[[เงินตรา]]แบบ[[ดิจิทัล]] 2.9 ถึง 5.8 ล้านคน โดยส่วนใหญ่แล้วใช้บิตคอยน์<ref name="CU2017">{{cite web|last1=Hileman|first1=Garrick|last2=Rauchs|first2=Michel|title=Global Cryptocurrency Benchmarking Study|url=https://www.jbs.cam.ac.uk/fileadmin/user_upload/research/centres/alternative-finance/downloads/2017-global-cryptocurrency-benchmarking-study.pdf|publisher=Cambridge University|accessdate=14 April 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170410130007/https://www.jbs.cam.ac.uk/fileadmin/user_upload/research/centres/alternative-finance/downloads/2017-global-cryptocurrency-benchmarking-study.pdf|archivedate=10 April 2017}}</ref>
เงินตราบิตคอยน์มีทั้งหมด 21 ล้าน สร้างขึ้นใหม่ด้วยการ "ไมนิง" (mining, การทำเหมือง, การขุดทอง) เป็นกระบวนการยืนยัน ตรวจสอบ และบันทึกการชำระเงิน โดยใช้หลักการว่า เมื่อมีธุรกรรมการโอนเงินเกิดขึ้น ธุรกรรมนั้นจะต้องได้รับการตรวจสอบและยืนยันโดย[[เครื่องคอมพิวเตอร์]]เครื่องอื่นในเครือข่ายเพียร์ทูเพียร์ คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่นั้นจะได้รับค่าตอบแทนในการทำงานงานนั้นเป็นค่าเงินบิตคอยน์จำนวนเล็กน้อย ด้วยหลักการนี้ทำให้บิตคอยน์เป็นสกุลเงินที่ไม่ขึ้นกับหน่วยงานรัฐบาลใดและมีค่าธรรมเนียมในการชำระเงินต่ำกว่าการชำระเงินผ่านระบบ[[ธนาคาร]]

== ที่มาของชื่อ ==
คำว่า ''บิตคอยน์'' ปรากฏขึ้นครั้งแรกและถูกให้ความหมายใน[[สมุดปกขาว]] (white paper)<ref name="paper">{{cite web|url=https://bitcoin.org/bitcoin.pdf|title=Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System|date=October 2008|publisher=bitcoin.org|accessdate=28 April 2014|first=Satoshi|last=Nakamoto|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140320135003/https://bitcoin.org/bitcoin.pdf|archivedate=20 March 2014}}</ref> ที่ถูกตีพิมพ์เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2541<ref name="ageofcr">{{cite book|last1=Vigna|first1=Paul|last2=Casey|first2=Michael J.|title=The Age of Cryptocurrency: How Bitcoin and Digital Money Are Challenging the Global Economic Order|date=January 2015|publisher=St. Martin's Press|location=New York|isbn=978-1-250-06563-6|edition=1}}</ref> เป็นการรวมคำว่า [[บิต|''บิต'']] และ ''คอยน์'' เข้าด้วยกัน''<ref name="btox">{{cite web|title=bitcoin|url=http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/bitcoin|publisher=[[OxfordDictionaries.com]]|accessdate=28 December 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150102041748/http://www.oxforddictionaries.com/definition/english/bitcoin|archivedate=2 January 2015}}</ref>''

=== หน่วย ===
หน่วยของบัญชีระบบบิตคอยน์คือ ''บิตคอยน์'' จนถึง พ.ศ. 2014 ชื่อที่ใช้ในการซื้อขาย (ticker symbol) ของบิตคอยน์ได้แก่ BTC{{efn|{{as of | 2014}}, BTC is a commonly used code.<ref name="standardize">{{cite web |publisher = [[CoinDesk]] |author = Nermin Hajdarbegovic |date = 7 October 2014 |accessdate = 28 January 2015 |title = Bitcoin Foundation to Standardise Bitcoin Symbol and Code Next Year |url = http://www.coindesk.com/bitcoin-foundation-standardise-bitcoin-symbol-code-next-year/ |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20150105011242/http://www.coindesk.com/bitcoin-foundation-standardise-bitcoin-symbol-code-next-year/ |archivedate = 5 January 2015}}</ref> It does not conform to [[ISO 4217]] as BT is the country code of Bhutan, and ISO 4217 requires the first letter used in global commodities to be 'X'.|name=BTCcode}} และ XBT{{efn|{{as of | 2014}}, XBT, a code that conforms to ISO 4217 though is not officially part of it, is used by [[Bloomberg L.P.]],<ref>{{cite news |title = Bitcoin Ticker Available On Bloomberg Terminal For Employees |publisher = [[TechCrunch]] |url = https://techcrunch.com/2013/08/09/bitcoin-ticker-available-on-bloomberg-terminal/ |date = 9 August 2013 |author = Romain Dillet |accessdate = 2 November 2014 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20141101232825/http://techcrunch.com/2013/08/09/bitcoin-ticker-available-on-bloomberg-terminal/ |archivedate = 1 November 2014}}</ref> [[CNNMoney]],<ref>{{cite news |title = Bitcoin Composite Quote (XBT) |url = http://money.cnn.com/quote/quote.html?symb=XBT |publisher = CNN |work = CNN Money |accessdate = 2 November 2014 |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20141027100208/http://money.cnn.com/quote/quote.html?symb=xbt |archivedate = 27 October 2014}}</ref> and [[xe.com]].<ref>{{cite web |title = XBT – Bitcoin |publisher = xe.com |accessdate = 2 November 2014 |url = http://www.xe.com/currency/xbt-bitcoin? |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20141102111801/http://www.xe.com/currency/xbt-bitcoin |archivedate = 2 November 2014}}</ref>|name=XBTcode}} โดยมีสัญลักษณ์[[ยูนิโคด]] ₿<ref name="btcregs">{{cite web|url=http://www.loc.gov/law/help/bitcoin-survey/regulation-of-bitcoin.pdf|title=Regulation of Bitcoin in Selected Jurisdictions|publisher=The Law Library of Congress, Global Legal Research Center|date=January 2014|accessdate=26 August 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20141014012832/http://www.loc.gov/law/help/bitcoin-survey/regulation-of-bitcoin.pdf|archivedate=14 October 2014}}</ref>{{rp|2}} หน่วยย่อยที่มักถูกใช้ได้แก่ มิลลิบิตคอยน์ (mBTC)<ref name="mBTC" /> และ ซาโตชิ ชื่อที่ตั้งตามผู้สร้างบิตคอยน์ ซาโตชิ เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด แสดงจำนวน 0.00000001 บิตคอยน์ หรือ หนึ่งในร้อยล้านของบิตคอยน์<ref name="satoshi unit" /> ส่วน ''มิลลิบิตคอยน์'' เท่ากับ 0.001 บิตคอยน์ หรือ หนึ่งในพันของบิตคอยน์ และยังเท่ากับ 100,000 ซาโตชิ<ref>{{cite news|url=http://edition.cnn.com/2014/06/18/business/bitcoin-your-way-to-a-double-espresso/|title=Bitcoin your way to a double espresso|publisher=CNN|work=cnn.com|date=9 July 2014|accessdate=23 April 2015|author1=Katie Pisa|author2=Natasha Maguder|lastauthoramp=yes|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150618072429/http://edition.cnn.com/2014/06/18/business/bitcoin-your-way-to-a-double-espresso/|archivedate=18 June 2015}}</ref>

== ประวัติ ==
ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ชื่อโดเมน "bitcoin.org" ถูกตั้งขึ้น<ref name="whatisbitcoin">{{cite web|title=What is 'Bitcoin'|url=http://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin.asp|publisher=Investopedia|accessdate=11 October 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131900470400/http://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin.asp|archivedate=10 December 2017}}</ref> ในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน ลิงค์ไปยังเอกสารในหัวข้อ ''บิตคอยน์:ระบบเงินอิเลคโทรนิคแบบเพียร์ทูเพียร์<ref name="paper2" />'' เขียนโดย [[ซาโตชิ นากาโมโตะ]] ได้ถูกส่งไปยังกลุ่มรายชื่อของอีเมล์ของ[[วิทยาการเข้ารหัสลับ]]<ref name="whatisbitcoin" /> นากาโมโตะนำซอฟต์แวร์บิตคอยน์มาใช้เป็นโค้ดแบบโอเพนซอร์ซและเปิดตัวในเดือนมกราคม พ.ศ. 2552<ref>{{cite web|url=http://www.mail-archive.com/cryptography@metzdowd.com/msg10142.html|author=Nakamoto, Satoshi|date=9 January 2009|title=Bitcoin v0.1 released|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140326174921/http://www.mail-archive.com/cryptography%40metzdowd.com/msg10142.html|archivedate=26 March 2014|deadurl=no}}</ref><ref name="NY20112" /> ขณะนั้นจนถึงตอนนี้ตัวตนของนากาโมโตะยังไม่ถูกเปิดเผย<ref>{{Cite web|url=http://www.eurocheddar.com/profiles-in-europe/satoshi-nakamoto-creator-bitcoin/|title=Satoshi Nakamoto|last=Feins|first=William|website=www.eurocheddar.com|language=en-US|access-date=20 August 2017}}</ref>

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 เครือข่ายบิตคอยน์ถือกำเนิดขึ้นหลัง ซาโตชิ นากาโมโตะ เริ่มขุดบล็อกแรกของเชนที่เรียกว่า ''บล็อกกำเนิด'' ที่ให้รางวัลจำนวน 50 บิตคอยน์<ref name="Wired:RFB">{{cite news|author=Wallace, Benjamin|title=The Rise and Fall of Bitcoin|url=https://www.wired.com/magazine/2011/11/mf_bitcoin/|publisher=Wired|date=23 November 2011|accessdate=13 October 2012|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131031043919/http://www.wired.com/magazine/2011/11/mf_bitcoin|archivedate=31 October 2013|deadurl=no}}</ref><ref>{{cite web|title=Block 0&nbsp;– Bitcoin Block Explorer|url=http://blockexplorer.com/block/000000000019d6689c085ae165831e934ff763ae46a2a6c172b3f1b60a8ce26f|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131015154613/http://blockexplorer.com/block/000000000019d6689c085ae165831e934ff763ae46a2a6c172b3f1b60a8ce26f|archivedate=15 October 2013|deadurl=no}}</ref>

หนึ่งในผู้สนับสนุน ผู้นำไปใช้ และผู้ร่วมพัฒนา บิตคอยน์ คนแรก ๆ เป็นผู้รับการซื้อขายบิตคอยน์ครั้งแรก เขาเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ชื่อว่า ฮาล ฟินนีย์ (Hal Finney) ฟินนีย์ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์บิตคอยน์ในวันแรกที่เปิดตัว และได้รับ 10 บิตคอยน์จากนากาโมโตะในการซื้อขายบิตคอยน์ครั้งแรกของโลก<ref>{{Cite news|url=https://www.washingtonpost.com/blogs/the-switch/wp/2014/01/03/hal-finney-received-the-first-bitcoin-transaction-heres-how-he-describes-it/|title=Hal Finney received the first Bitcoin transaction. Here's how he describes it.|last=Peterson|first=Andrea|work=The Washington Post|access-date=|date=3 January 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150227213647/http://www.washingtonpost.com/blogs/the-switch/wp/2014/01/03/hal-finney-received-the-first-bitcoin-transaction-heres-how-he-describes-it/|archivedate=27 February 2015}}</ref><ref>{{cite news|last1=Popper|first1=Nathaniel|title=Hal Finney, Cryptographer and Bitcoin Pioneer, Dies at 58|url=https://www.nytimes.com/2014/08/31/business/hal-finney-cryptographer-and-bitcoin-pioneer-dies-at-58.html?_r=1|accessdate=2 September 2014|work=NYTimes|date=30 August 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140903162835/http://www.nytimes.com/2014/08/31/business/hal-finney-cryptographer-and-bitcoin-pioneer-dies-at-58.html?_r=1|archivedate=3 September 2014}}</ref> ผู้สนับสนุนแรกเริ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ Wei Dai ผู้สร้าง ''b-money'' และ [[Nick Szabo]] ผู้สร้าง ''bit gold'' ทั้งคู่ที่มาก่อนบิตคอยน์<ref name="WallaceWired11">{{cite news|url=https://www.wired.com/magazine/2011/11/mf_bitcoin/|title=The Rise and Fall of Bitcoin|work=Wired|date=23 November 2011|accessdate=4 November 2013|author=Wallace, Benjamin|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131104055936/http://www.wired.com/magazine/2011/11/mf_bitcoin/|archivedate=4 November 2013}}</ref>

ในช่วงแรก มีการประมาณว่านากาโมโตะได้ทำการขุดจำนวน 1 ล้านบิตคอยน์<ref>{{cite news|last1=McMillan|first1=Robert|title=Who Owns the World's Biggest Bitcoin Wallet? The FBI|url=https://www.wired.com/2013/12/fbi_wallet/|accessdate=7 October 2016|work=Wired|publisher=Condé Nast|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161021221609/https://www.wired.com/2013/12/fbi_wallet/|archivedate=21 October 2016}}</ref> ในพ.ศ. 2553 นากาโมโตะส่งต่อกุญแจเตือนเครือข่ายและการควบคุมที่เก็บโค้ดหลักบิตคอยน์ (Bitcoin Core code) ให้กับ [[Gavin Andresen]] ผู้ที่ต่อมากลายเป็นหัวหน้านักพัฒนาหลักของ[[มูลนิธิบิตคอยน์]] (Bitcoin Foundation)<ref>{{cite web|title=Gavin Andresen Steps Down as Bitcoin's Lead Developer|url=https://www.coindesk.com/gavin-andresen-steps-bitcoins-lead-developer/|website=CoinDesk|accessdate=6 December 2017|date=8 April 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170902011557/https://www.coindesk.com/gavin-andresen-steps-bitcoins-lead-developer/|archivedate=2 September 2017}}</ref><ref>{{cite web|last1=Simonite|first1=Tom|title=Meet Gavin Andresen, the most powerful person in the world of Bitcoin|url=https://www.technologyreview.com/s/527051/the-man-who-really-built-bitcoin/|website=MIT Technology Review|accessdate=6 December 2017|language=en}}</ref> จากนั้นนากาโมโตะก็เลิกยุ่งเกี่ยวกับบิตคอยน์<ref name="governance">{{cite news|last1=Odell|first1=Matt|title=A Solution To Bitcoin’s Governance Problem|url=https://techcrunch.com/2015/09/21/a-solution-to-bitcoins-governance-problem/|accessdate=24 January 2016|work=TechCrunch|date=21 September 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160126051521/http://techcrunch.com/2015/09/21/a-solution-to-bitcoins-governance-problem/|archivedate=26 January 2016}}</ref> จากนั้น Andresen ตั้งเป้าหมายว่าจะกระจายอำนาจการควบคุม และกล่าวว่า "หลังซาโตชิถอยออกไปและโยนโครงการมาบนไหล่ของฉัน สิ่งแรกที่ฉันทำคือการพยายามกระจายอำนาจ เพื่อที่โครงการจะไปต่อได้ แม้หากฉันโดนรถบัสชนก็ตาม"<ref name="governance" />

มูลค่าของการแรกเปลี่ยนบิตคอยน์ครั้งแรกถูกต่อรองผ่านทางเว็บบอร์ดพูดคุยบิตคอยน์ โดยมีการซื้อขายครั้งหนึ่งที่ใช้ 10,000 BTC เพื่อซื้อพิซซ่าจำนวนสองถาดแบบอ้อมจาก Papa John's<ref name="Wired:RFB" />

เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ช่องโหว่ครั้งใหญ่ในโพรโทคอลของบิตคอยน์ถูกพบ การซื้อขายไม่ได้ถูกตรวจสอบอย่างถูกต้องก่อนถูกใส่เข้าไปในบล็อกเชน ทำให้ผู้ใช้สามารถเลี่ยงข้อจำกัดทางเศรษฐศาสตร์ของบิตคอยน์ และสร้างบิตคอยน์ขึ้นมาได้ในจำนวนไม่จำกัด<ref name="Monetarism1">{{cite web|last=Sawyer|first=Matt|title=The Beginners Guide To Bitcoin&nbsp;– Everything You Need To Know|url=http://www.monetarism.co.uk/the-beginners-guide-to-bitcoin-everything-you-need-to-know/|publisher=Monetarism|date=26 February 2013|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140409025103/http://www.monetarism.co.uk/the-beginners-guide-to-bitcoin-everything-you-need-to-know/|archivedate=9 April 2014|deadurl=yes}}</ref><ref name="NIST1">{{cite web|title=Vulnerability Summary for CVE-2010-5139|url=https://web.nvd.nist.gov/view/vuln/detail?vulnId=CVE-2010-5139|publisher=National Vulnerability Database|accessdate=22 March 2013|date=8 June 2012|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140409034542/https://web.nvd.nist.gov/view/vuln/detail?vulnId=CVE-2010-5139|archivedate=9 April 2014|deadurl=no}}</ref> ในวันที่ 15 สิงหาคม ช่องโหว่นี้ถูกใช้สร้างกว่า 184 ล้านบิตคอยน์ผ่านการซื้อขายหนึ่งครั้ง และส่งไปยังที่อยู่สองที่ในเครือข่าย ภายในไม่กี่ชั่วโมง การซื้อขายถูกพบและลบออกจากบันทึกหลัง[[บั๊ก|บัค]]ได้รับการแก้ไขและโพรโทคอลของบิตคอยน์ได้รับการอัพเดทรุ่น<ref name="SourceForge">{{cite web|author=Nakamoto, Satoshi|title=ALERT&nbsp;– we are investigating a problem|url=http://sourceforge.net/p/bitcoin/mailman/bitcoin-list/?viewmonth=201008|accessdate=15 October 2013|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131015232402/http://sourceforge.net/p/bitcoin/mailman/bitcoin-list/?viewmonth=201008|archivedate=15 October 2013|deadurl=no}}</ref><ref name="Monetarism1" /><ref name="NIST1" />

เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ฮาร์ดฟอร์ค (hard fork) ของบิตคอยน์ถูกสร้างขึ้น เรียกว่า บิตคอยน์แคช (Bitcoin Cash) บิตคอยน์แคชมีข้อจำกัดของขนาดบล็อกที่ใหญ่ขึ้นและมีบล็อกเชนที่เหมือนกัน ณ เวลาฟอร์ค<ref>{{cite web|last1=Radcliffe|first1=Brent|title=Bitcoin Cash|url=https://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin-cash.asp|website=Investopedia|accessdate=8 December 2017|date=20 September 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20171209100013/https://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin-cash.asp|archivedate=9 December 2017}}</ref><ref>{{cite web|last1=Tepper|first1=Fitz|title=WTF is bitcoin cash and is it worth anything?|url=https://techcrunch.com/2017/08/02/wtf-is-bitcoin-cash-and-is-it-worth-anything/|website=TechCrunch|accessdate=5 December 2017|language=en}}</ref>

== การออกแบบ ==

=== บล็อกเชน ===
[[File:Utxo-count.svg|thumb|จำนวนข้อมูลออกที่ยังไม่ถูกใช้ในการซื้อขาย]]

''บล็อกเชน'' เป็น รายการบัญชีแบบสาธารณะที่บันทึกการซื้อขายบิตคอยน์{{r|econbc}} วิธีแก้ปัญหาแบบใหม่ทำสิ่งนี้โดยไม่ต้องพึ่งผู้มีอำนาจส่วนกลาง เพราะการรักษาสภาพบล็อกเชนทำโดยเครือข่ายของจุดต่อ (node) ที่รันซอฟต์แวร์บิตคอยน์ซึ่งสื่อสารกัน{{r|"primer"}} การซื้อขายในรูปแบบ ผู้จ่าย X ส่ง Y บิตคอยน์ ให้กับผู้รับ Z ถูกเผยแพร่ไปยังเครือข่ายนี้โดยใช้แอปพลิเคชั่นซอฟต์แวร์ที่มีอยู่<ref>{{cite web|title=Bitcoin Wallet|url=http://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin-wallet.asp?layout=infini&v=5A&orig=1&adtest=5A|publisher=Investopedia|accessdate=28 June 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160819142658/http://www.investopedia.com/terms/b/bitcoin-wallet.asp?layout=infini&v=5A&orig=1&adtest=5A|archivedate=19 August 2016}}</ref> จุดต่อเครือข่ายสามารถตรวจสอบการซื้อขาย เพิ่มการซื้อขายไปบนรายการบัญชี จากนั้นเผยแพร่การเพิ่มรายการบัญชีเหล่านี้ไปยังจุดต่ออื่น ๆ บล็อกเชนเป็น[[ฐานข้อมูลแบบกระจาย]] (distributed database) เพื่อการยืนยันอย่างอิสระของเชนของการเป็นเจ้าของบิตคอยน์ไม่ว่าจะจำนวนเท่าใด แต่ละจุดต่อเครือข่ายจัดเก็บสำเนาบล็อกเชนของตนเอง<ref name="f_c2">{{cite news|url=http://www.telegraph.co.uk/technology/news/10881213/The-coming-digital-anarchy.html|title=The coming digital anarchy|publisher=Telegraph Media Group Limited|work=The Telegraph|date=9 June 2014|accessdate=7 January 2015|author=Sparkes, Matthew|location=London|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150123190900/http://www.telegraph.co.uk/technology/news/10881213/The-coming-digital-anarchy.html|archivedate=23 January 2015}}</ref> ประมาณ 6 ครั้งต่อชั่วโมง กลุ่มใหม่ของการซื้อขายที่ถูกยอมรับหรือที่เรียกว่าบล็อกถูกสร้างขึ้น เพิ่มเข้าไปในบล็อกเชน และเผยแพร่ไปยังจุดต่อทั้งหมดอย่างรวดเร็ว สิ่งนี้ทำให้ซอฟต์แวร์บิตคอยน์สามารถตัดสินเมื่อบิตคอยน์จำนวนที่กำหนดถูกใช้ และมีความสำคัญในการป้องกันการใช้ซ้อน (double-spending) ในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีส่วนกลางคอยควบคุม ในขณะที่รายการเดินบัญชีแบบดั้งเดิมบันทึกรายการซื้อขายของ[[ธนบัตร]]จริงหรือ[[ตั๋วสัญญาใช้เงิน]] บล็อกเชนเป็นที่เดียวที่บิตคอยน์สามารถมีอยู่ในรูปแบบของผลลัพธ์ที่ยังไม่ถูกใช้ในการซื้อขาย<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 5}}

=== การซื้อขาย ===
[[File:BTC number of transactions per month.png|thumb|จำนวนการซื้อขายบิตคอยน์ต่อเดือน (logarithmic scale)<ref name="Blockchain.info" />]]

การซื้อขายถูกให้ความหมายด้วยภาษาบทคำสั่งที่คล้ายฟอร์ธ (Forth){{r|Antonopoulos2014|p=ch. 5}} การซื้อขายประกอบไปด้วย ''ข้อมูลเข้า'' และ ''ข้อมูลออก'' เมื่อผู็ใช้ส่งบิตคอยน์ ผู้ใช้กำหนดที่อยู่และจำนวนบิตคอยน์ที่จะส่งไปยังที่อยู่นั้นในข้อมูลออก เพื่อป้องกันการใช้ซ้อน ข้อมูลเข้าแต่ละข้อมูลต้องอ้างอิงกลับไปยังข้อมูลออกอันก่อนที่ยังไม่ได้ใช้ในบล็อกเชน<ref name="EconOfBTC">{{cite web|url=http://www.econinfosec.org/archive/weis2013/papers/KrollDaveyFeltenWEIS2013.pdf|title=The Economics of Bitcoin Mining, or Bitcoin in the Presence of Adversaries|work=The Twelfth Workshop on the Economics of Information Security (WEIS 2013)|date=11–12 June 2013|accessdate=26 April 2016|author1=Joshua A. Kroll|author2=Ian C. Davey|author3=Edward W. Felten|quote=A transaction fee is like a tip or gratuity left for the miner.|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160509053819/http://www.econinfosec.org/archive/weis2013/papers/KrollDaveyFeltenWEIS2013.pdf|archivedate=9 May 2016}}</ref> การใช้ข้อมูลเข้าหลายข้อมูลเปรียบเสมือนการใช้เหรียญหลายเหรียญในการซื้อขายด้วยเงินสด ในเมื่อการซื้อขายสามารถมีข้อมูลออกหลายข้อมูล ผู้ใช้สามารถส่งบิตคอยน์ให้กับหลายผู้รับในการซื้อขายหนึ่งครั้ง ผลรวมของข้อมูลเข้า (จำนวนเหรียญที่ใช้จ่าย) สามารถมีจำนวนมากกว่าจำนวนจ่ายทั้งหมด เช่นเดียวกับการซื้อขายด้วยเงินสด ในกรณีนี้ ข้อมูลออกเสริมถูกใช้เพื่อทอนให้กับผู้จ่าย<ref name="EconOfBTC" /> จำนวนซาโตชิที่ถูกป้อนเข้าและไม่ถูกบันทึกสำหรับการซื้อขายออกกลายเป็นค่าธรรมเนียมการซื้อขาย<ref name="EconOfBTC" />

=== ค่าธรรมเนียมการซื้อขาย ===

[[File:An actual Bitcoin transaction from the Kraken cryptocurrency exchange to a hardware LedgerWallet.jpg|thumb|การซื้อขายบิตคอยน์และค่าธรรมเนียมจากเงินตราแบบดิจิทัลบนเว็บไซต์ไปยังกระเป๋าเงินฮาร์ดแวร์.]]

การจ่ายค่าธรรมเนียมการซื้อขายเป็นทางเลือก<ref name="EconOfBTC" /> ผู้ขุดสามารถเลือกกายซื้อขายที่จะดำเนินการ<ref name="EconOfBTC" /> และจัดความสำคัญให้การซื้อขายที่จ่ายค่าธรรมเนียมสูงกว่า ค่าธรรมเนียมถูกกำหนดบนฐานของขนาดที่เก็บของการซื้อขายที่เกิดขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนข้อมูลเข้าที่ถูกใช้สร้างการซื้อขาย นอกจากนี้ข้อมูลเข้าเก่าที่ยังไม่ถูกใช้ยังถูกให้ความสำคัญก่อน<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}}

=== การเป็นเจ้าของ ===

[[File:Bitcoin Transaction Visual.svg|thumb|แบบจำลองลูกโซ่การเป็นเจ้าของ<ref name="paper" /> ในความเป็นจริงแล้วการซื้อขายสามารถมีข้อมูลเข้าและข้อมูลออกมากกว่าหนึ่งจำนวน]]

บิตคอยน์ถูกลงชื่อบนที่อยู่บิตคอยน์ในบล็อกเชน การสร้างที่อยู่บิตคอยน์คือการสุ่มเลือกกุญแจส่วนตัวที่ใช้งานได้และคำนวนที่อยู่บิตคอยน์ที่สัมพันธ์กัน การคำนวนนี้สามารถกินเวลาเพียงเสี่ยววินาที ทว่าการทำกลับกัน (การคำนวนหากุญแจส่วนตัวจากที่อยู่บิตคอยน์) เป็นไปไม่ได้ทางคณิตศาสตร์ ดังนั้นผู้ใช้สามารถเผยแพร่ที่อยู่บิตคอยน์ให้เป็นสาธารณะได้โดยไม่ต้องกลัวว่ากุญแจส่วนตัวจะถูกเปิดเผย นอกจากนี้ จำนวนกุญแจส่วนตัวที่ใช้ได้มีจำนวนเยอะมากจนแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะสุ่มแบบ brute force เจ้าของบิตคอยน์ต้องรู้กุญแจส่วนตัวและที่สัมพันธ์กับที่อยู่และเซ็นแบบดิจิตอลเพื่อให้บิตคอยน์ในการซื้อขาย ระบบตรวจสอบลายเซ็นโดยใช้[[กุญแจสาธารณะ]]<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 5}}

หากกุญแจสาธารณะหายไป ระบบบิตคอยน์จะไม่สามารถจำแนกหลักฐานความเป็นเจ้าของแบบอื่นได้<ref name="primer" /> ทำให้เหรียญใช้ไม่ได้และสูญเสียมูลค่า ตัวอย่างเช่น ในพ.ศ. 2556 ผู้ใช้คนหนึ่งอ้างว่าเผลอทิ้งฮาร์ดดิสก์ที่มีกุญแจสาธารณะ ทำให้บิตคอยน์จำนวน 7,500 บิตคอยน์ ซึ่งในขณะนั้นมีมูลค่า 7.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 244 ล้านบาท) ได้หายไป<ref>{{cite news|title=Man Throws Away 7,500 Bitcoins, Now Worth $7.5 Million|date=29 November 2013|url=http://washington.cbslocal.com/2013/11/29/man-throws-away-7500-bitcoins-now-worth-7-5-million/|work=CBS DC|accessdate=23 January 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140115062630/http://washington.cbslocal.com/2013/11/29/man-throws-away-7500-bitcoins-now-worth-7-5-million/|archivedate=15 January 2014}}</ref> ปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้นหากเพียงเขาสำรองข้อมูลกุญแจไว้<ref name="backup">{{cite web|url=https://www.coindesk.com/how-not-to-lose-your-bitcoin-in-2017/|title=How Not to Lose Your Bitcoin in 2017 – CoinDesk|date=28 December 2016|publisher=|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908213138/https://www.coindesk.com/how-not-to-lose-your-bitcoin-in-2017/|archivedate=8 September 2017}}</ref>

=== การขุด ===

[[File:History of Bitcoin difficulty.svg|thumb|กราฟแบบเซมิล็อกของความยากในการขุดสัมพัทธ์{{efn|Relative mining difficulty is defined as the ratio of the difficulty target on 9 January 2009 to the current difficulty target.}}<ref name="Blockchain.info">{{cite web |url = https://blockchain.info/charts |title = Charts |accessdate = 2 November 2014 |publisher = [[Blockchain.info]] |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20141103020741/http://blockchain.info/charts |archivedate = 3 November 2014}}</ref>]]

''การขุด (mining)'' เป็นบริการบันทึกข้อมูลผ่านการใช้[[พลังในการคำนวนผล]] (processing power) ของคอมพิวเตอร์{{efn|It is misleading to think that there is an analogy between gold mining and bitcoin mining. The fact is that gold miners are rewarded for producing gold, while bitcoin miners are not rewarded for producing bitcoins; they are rewarded for their record-keeping services.<ref name="Andolfatto2014-03">{{cite web |url = http://www.stlouisfed.org/dialogue-with-the-fed/assets/Bitcoin-3-31-14.pdf |title = Bitcoin and Beyond: The Possibilities and Pitfalls of Virtual Currencies |publisher = Federal Reserve Bank of St. Louis |work = Dialogue with the Fed |date = 31 March 2014 |accessdate = 16 April 2014 |author = Andolfatto, David |deadurl = no |archiveurl = https://web.archive.org/web/20140409044505/http://www.stlouisfed.org/dialogue-with-the-fed/assets/Bitcoin-3-31-14.pdf |archivedate = 9 April 2014}}</ref>}} ผู้ขุด (miner) ช่วยทำให้บล็อกเชนมีความสม่ำอเสมอ สมบูรณ์ และเปลี่ยนแปลงไม่ได้ โดยการตรวจสอบซ้ำ ๆ และเก็บบันทึกการซื้อขายใหม่ที่ถูกเผยแพร่ไปยังกลุ่มการซื้อขายใหม่ที่เรียกว่า''บล็อก<ref name="econbc">{{cite news|title=The great chain of being sure about things|url=https://www.economist.com/news/briefing/21677228-technology-behind-bitcoin-lets-people-who-do-not-know-or-trust-each-other-build-dependable|accessdate=3 July 2016|work=The Economist|publisher=The Economist Newspaper Limited|date=31 October 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160703000844/http://www.economist.com/news/briefing/21677228-technology-behind-bitcoin-lets-people-who-do-not-know-or-trust-each-other-build-dependable|archivedate=3 July 2016}}</ref>'' แต่ละบล็อกประกอบไปด้วย[[การเข้ารหัสแบบแฮช]] (cryptographic hash) หรือการเข้ารหัสทางเดียว ของบล็อกก่อนหน้า<ref name="econbc" /> โดยการใช้ขั้นตอนวิธีแฮช [[SHA-256]]<ref name="Antonopoulos2014" />[[SHA-256|{{rp|ch. 7}}]] ซึ่งเชื่อมต่อกับบล็อกก่อนหน้า<ref name="econbc" /> เป็นจุดกำเนิดของชื่อ[[บล็อกเชน]]

บล็อกใหม่ต้องมีสิ่งที่เรียกว่า ''การพิสูจน์งาน (Proof-of-work)'' จึงจะได้รับการยอมรับจากระบบ<ref name="econbc" /> การพิสูจน์งานต้องการให้ผู้ขุดหาตัวเลขที่เรียกว่า ''nonce'' ที่ให้ผลลัพธ์จำนวนน้อยกว่าเป้าหมายความยากของระบบเมื่อถูกเข้ารหัสแบบแฮชด้วย nounce<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}} การพิสูจน์นี้ง่ายที่จุดต่อใดก็ตามที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายจะทำการตรวจสอบ ทว่ากินเวลาอย่างมากหากจะสร้างขึ้นเอง ผู้ขุดต้องลองจำนวน nounce หลายจำนวนเพื่อบรรลุเป้าหมายความยาก โดยมักเริ่มทดสอบจากค่า 0, 1, 2, 3, ... ตามลำดับ<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}}

ทุก ๆ 2,016 บล็อก (ประมาณ 14 วัน หากใช้เวลา 10 นาทีต่อบล็อก) เป้าหมายความยากถูกปรับตามสมรรถนะใหม่ของระบบ โดยมีเป้าหมายที่จะคงเวลาเฉลี่ยนระหว่าบล็อกใหม่ไว้ที่ 10 นาที วิธีนี้ทำให้ระบบปรับตัวเข้ากับพลังการขุดของเครือข่ายอย่างอัตโนมัติ<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}}

ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2557 จนถึง 1 มีนาคม พ.ศ. 2558 จำนวนเฉลี่ยนของ nounce ที่นักขุดต้องทดลองเพื่อสร้างบล็อกใหม่เพิ่มขึ้นจาก 16.4 × 10<sup>18</sup> เป็น 200.5 × 10<sup>18</sup><ref name="diffhistory">{{cite web|url=https://blockchain.info/charts/difficulty?timespan=all&showDataPoints=false&daysAverageString=1&show_header=true&scale=0&address=|title=Difficulty History|publisher=Blockchain.info|accessdate=26 March 2015|type=The ratio of all hashes over valid hashes is D x 4,295,032,833, where D is the published "Difficulty" figure.|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150408212548/https://blockchain.info/charts/difficulty?timespan=all&showDataPoints=false&daysAverageString=1&show_header=true&scale=0&address=|archivedate=8 April 2015}}</ref>

ระบบการพิสูจน์งานคู่กับการต่อกันของบล็อกทำให้การเปลี่ยนแปลงของบล็อกเชนเป็นไปได้ยากมาก เพราะการที่ผู้โจมตีจะทำให้บล็อกหนึ่งได้รับการยอมรับ จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงบล็อกต่อมาที่เชื่อมกันทั้งหมด<ref>{{cite news|last1=Hampton|first1=Nikolai|title=Understanding the blockchain hype: Why much of it is nothing more than snake oil and spin|url=http://www.computerworld.com.au/article/606253/understanding-blockchain-hype-why-much-it-nothing-more-than-snake-oil-spin/|accessdate=5 September 2016|work=Computerworld|publisher=IDG|date=5 September 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160906171838/http://www.computerworld.com.au/article/606253/understanding-blockchain-hype-why-much-it-nothing-more-than-snake-oil-spin/|archivedate=6 September 2016}}</ref> เมื่อเวลาผ่านไปความยากในการเปลี่ยนแปลงบล็อกเพิ่มข้ึน ด้วยความที่บล็อกใหม่ถูกขุดตลอดเวลาทำให้จำนวนบล็อกที่ตามมาเพิ่มขึ้นไปด้วย<ref name="econbc" />

==== จำนวน ====

[[File:Total-bitcoins.svg|thumb|จำนวนบิตคอยน์ทั้งหมดในระบบ<ref name="Blockchain.info" />]]

ผู้ขุดที่หาบล็อกใหม่สำเร็จได้รับรางวัลเป็นบิตคอยน์ที่ถูกสร้างขึ้นและค่าธรรมเนียมการซื้อขาย<ref name="bloombergvance111413">{{cite web|url=http://www.businessweek.com/articles/2013-11-14/2014-outlook-bitcoin-mining-chips-a-high-tech-arms-race|title=2014 Outlook: Bitcoin Mining Chips, a High-Tech Arms Race|publisher=Businessweek|date=14 November 2013|author=Ashlee Vance|accessdate=24 November 2013|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131121225123/http://www.businessweek.com/articles/2013-11-14/2014-outlook-bitcoin-mining-chips-a-high-tech-arms-race|archivedate=21 November 2013}}</ref> ณ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559<ref name="BlockChain.info">{{cite web|url=https://blockchain.info/block/000000000000000002cce816c0ab2c5c269cb081896b7dcb34b8422d6b74ffa1|title=Block #420000|publisher=Blockchain.info|accessdate=11 September 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160918115932/https://blockchain.info/block/000000000000000002cce816c0ab2c5c269cb081896b7dcb34b8422d6b74ffa1|archivedate=18 September 2016}}</ref> รางวัลอยู่ที่จำนวน 12.5 บิตคอยน์ที่ถูกสร้างใหม่ต่อบล็อกที่ถูกเพิ่มไปยังบล็อกเชน เพื่อขอรับรางวัล การซื้อขายพิเศษที่เรียกว่า ''คอยน์เบส'' ถูกรวมเข้ากับการจ่ายที่ถูกดำเนินการ<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}} บิตคอยน์ที่มีอยู่ทั้งหมดถูกสร้างด้วยการซื้อขายแบบคอยน์เบสนี้

โพรโทคอลของบิตคอยน์ระบุว่ารางวัลสำหรับการเพิ่มบล็อกจะถูกลดเหลือครึ่งหนึ่งทุก ๆ 210,000 บล็อก (ประมาณทุก ๆ 4 ปี) จนในที่สุดรางวัลจะถูกลดลงเป็นศูนย์ โดยมีจำนวนสูงสุดอยู่ที่ 21 ล้านบิตคอยน์{{efn|The exact number is 20,999,999.9769 bitcoins.<ref name="Antonopoulos2014" />{{rp|ch. 8}}}} ประมาณปีพ.ศ. 2683 จากนั้นรางวัลของการบันทึกจะเหลือเพียงค่าธรรมเนียมเท่านั้น<ref name="KWY">{{cite web|url=http://qz.com/154877/by-reading-this-page-you-are-mining-bitcoins/|title=By reading this article, you're mining bitcoins|publisher=Atlantic Media Co|work=qz.com|date=17 December 2013|accessdate=17 December 2013|author1=Ritchie S. King|author2=Sam Williams|author3=David Yanofsky|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20131217221429/http://qz.com/154877/by-reading-this-page-you-are-mining-bitcoins/|archivedate=17 December 2013}}</ref>

กล่าวคือ นากาโมโตะ ผู้สร้างบิตคอยน์ ตั้ง[[นโยบายการเงิน]]บนฐานของ[[ความขาดแคลนประดิษฐ์]] (artificial scarcity) และทำให้บิตคอยน์ถูกจำกัดอยู่ที่จำนวน 21 ล้านบิตคอยน์ตั้งแต่แรก จำนวนทั้งหมดจะถูกเผยทุก ๆ สิบนาทีและอัตราการสร้างจะลดลงครึ่งหนึ่งทุก ๆ สี่ปีจนบิตคอยน์ทั้งหมดอยู่ในระบบ<ref>{{cite news|last1=Shin|first1=Laura|title=Bitcoin Production Will Drop By Half In July, How Will That Affect The Price?|url=https://www.forbes.com/sites/laurashin/2016/05/24/bitcoin-production-will-drop-by-half-in-july-how-will-that-affect-the-price/#79bdaa0999e1|accessdate=13 July 2016|work=Forbes|date=24 May 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160524141916/http://www.forbes.com/sites/laurashin/2016/05/24/bitcoin-production-will-drop-by-half-in-july-how-will-that-affect-the-price/#79bdaa0999e1|archivedate=24 May 2016}}</ref>

== การใช้พลังงาน ==
[[File:Cryptocurrency_Mining_Farm.jpg|link=https://en.wikipedia.org/wiki/File:Cryptocurrency_Mining_Farm.jpg|thumb|เหมืองขุดบิตคอยน์ที่ประเทศไอซ์แลนด์]]
บิตคอยน์ถูกวิจารณ์ในแง้ของความต้องการใช้ไฟฟ้าเพื่อขุด นิตยสาร ''ดิ อีโคโนมิสต์'' ประมาณว่า แม้นักขุดทุกคนจะใช้อุปกรณ์สมัยใหม่ ก็ใช้ไฟประมาณ 166.7 เมกะวัตต์<ref name="ec1305">{{cite news|title=The magic of mining|url=https://www.economist.com/news/business/21638124-minting-digital-currency-has-become-big-ruthlessly-competitive-business-magic|accessdate=13 January 2015|work=[[The Economist]]|date=13 January 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150112165531/http://www.economist.com/news/business/21638124-minting-digital-currency-has-become-big-ruthlessly-competitive-business-magic|archivedate=12 January 2015}}</ref><ref>{{cite news|title=The magic of mining|url=https://www.economist.com/news/business/21638124-minting-digital-currency-has-become-big-ruthlessly-competitive-business-magic|accessdate=13 January 2015|work=[[The Economist]]|date=13 January 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150112165531/http://www.economist.com/news/business/21638124-minting-digital-currency-has-become-big-ruthlessly-competitive-business-magic|archivedate=12 January 2015}}</ref> ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กิจกรรมการขุดบิตคอยน์ทั่วโลกถูกประมาณว่าใช้ไฟฟ้ากว่า 3.4 จิกะวัตต์<ref>{{Cite news|url=https://www.theguardian.com/technology/2017/nov/27/bitcoin-mining-consumes-electricity-ireland|title=Bitcoin mining consumes more electricity a year than Ireland|last=Hern|first=Alex|date=27 November 2017|newspaper=The Guardian|access-date=28 November 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20171127222340/https://www.theguardian.com/technology/2017/nov/27/bitcoin-mining-consumes-electricity-ireland|archive-date=27 November 2017|dead-url=no}}</ref>

เพื่อลดค่าใช้จ่าย นักขุดบิตคอยน์สร้างเหมืองในพื้นที่เช่นประเทศไอซ์แลนด์ที่ใช้พลังงานความร้อนใต้พื้นพิภพซึ่งมีราคาถูก และอากาศเย็นแถบอาร์กติกที่ไม่มีค่าใช้จ่าย{{r|dh150613}} นักขุดชาวจีนยังใช้พลังงานน้ำในแถบเทศทิเบตเพื่อลดค่าไฟ<ref name="cryptocoinnews20160914">{{cite news|last1=Maras|first1=Elliot|title=China’s Mining Dominance: Good Or Bad For Bitcoin?|url=https://www.cryptocoinsnews.com/chinas-mining-dominance-good-or-bad-for-bitcoin/|accessdate=25 November 2016|work=Cryptocoin News|date=14 September 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161126064550/https://www.cryptocoinsnews.com/chinas-mining-dominance-good-or-bad-for-bitcoin/|archivedate=26 November 2016}}</ref>

== บันทึก ==
{{Notelist|30em}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|2}}


{{Cryptocurrencies}}
{{Cryptocurrencies}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:37, 28 ธันวาคม 2560

บิตคอยน์
Prevailing bitcoin logo
ISO 4217
รหัสXBT[a]
การตั้งชื่อ
หน่วยย่อย
1/1000millibitcoin[1]
1/100000000satoshi[3]
สัญลักษณ์[2]
ชื่อที่ใช้ในการซื้อขายBTC
ข้อมูลการใช้
ผู้ใช้ทั้วโลก
การตีพิมพ์
ธนาคารกลางระบบกระจายอำนาจ[4][5]
การประเมินค่า
Supply growth12.5 บิตคอยน์ต่อบล็อก (ประมาณทุก ๆ 10 นาที) จนถึงกลางปี พ.ศ. 2563[6] ต่อมา 6.25 บิตคอยน์ต่อบล็อกเป็นเวลา 4 ปี จนถึงการหารสอง (halving) ครั้งต่อไป การหารสองครั้งนี้นำเนินต่อจนถึง พ.ศ. 2653 – พ.ศ. 2683 เมื่อ 21 ล้านบิตคอยน์ออกสู่ตลาด
 ที่มาพ.ศ. 2555
  1. ไม่เป็นทางการ.
เกี่ยวกับบิตคอยน์ใน 3 นาที

บิตคอยน์ (อังกฤษ: Bitcoin) เป็นเงินตราแบบดิจิทัล (cryptocurrency) และระบบการชำระเงินที่ใช้กันทั่วโลก[7]: 3  บิตคอยน์เป็นสกุลเงินดิจิทัลแรกที่ใช้ระบบกระจายอำนาจ โดยไม่มีธนาคารกลางหรือแม้แต่ผู้คุมระบบแม้แต่คนเดียว[7]: 1 [8] เครือข่ายเป็นแบบเพียร์ทูเพียร์ และการซื้อขายเกิดขึ้นระหว่างจุดต่อเครือข่าย (network node)โดยตรง ผ่านการใช้วิทยาการเข้ารหัสลับและไม่มีสื่อกลาง[7]: 4  การซื้อขายเหล่านี้ถูกตรวจสอบโดยรายการเดินบัญชีแบบสาธารณะที่เรียกว่าบล็อกเชน บิตคอยถูกพัฒนาโดยคนหรือกลุ่มคนที่ใช้นามแฝงว่า "ซาโตชิ นากาโมโตะ"[9] และถูกเผยแพร่ในรูปแบบของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซในปี พ.ศ. 2552[10]

บิตคอยน์ถูกสร้างขึ้นใหม่ด้วย 'การขุด' (mining, การทำเหมือง) และสามารถถูกแลกเป็นสกุลเงินอื่น[11] สินค้า และบริการ ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 มีร้านค้ากว่า 100,000 ร้านยอมรับการจ่ายเงินด้วยบิตคอยน์[12] งานวิจัยจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประมาณว่าใน พ.ศ. 2560 มีผู้ใช้เงินตราแบบดิจิทัล 2.9 ถึง 5.8 ล้านคน โดยส่วนใหญ่แล้วใช้บิตคอยน์[13]

ที่มาของชื่อ

คำว่า บิตคอยน์ ปรากฏขึ้นครั้งแรกและถูกให้ความหมายในสมุดปกขาว (white paper)[14] ที่ถูกตีพิมพ์เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2541[15] เป็นการรวมคำว่า บิต และ คอยน์ เข้าด้วยกัน[16]

หน่วย

หน่วยของบัญชีระบบบิตคอยน์คือ บิตคอยน์ จนถึง พ.ศ. 2014 ชื่อที่ใช้ในการซื้อขาย (ticker symbol) ของบิตคอยน์ได้แก่ BTC[a] และ XBT[b] โดยมีสัญลักษณ์ยูนิโคด[21]: 2  หน่วยย่อยที่มักถูกใช้ได้แก่ มิลลิบิตคอยน์ (mBTC)[1] และ ซาโตชิ ชื่อที่ตั้งตามผู้สร้างบิตคอยน์ ซาโตชิ เป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด แสดงจำนวน 0.00000001 บิตคอยน์ หรือ หนึ่งในร้อยล้านของบิตคอยน์[3] ส่วน มิลลิบิตคอยน์ เท่ากับ 0.001 บิตคอยน์ หรือ หนึ่งในพันของบิตคอยน์ และยังเท่ากับ 100,000 ซาโตชิ[22]

ประวัติ

ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ชื่อโดเมน "bitcoin.org" ถูกตั้งขึ้น[23] ในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน ลิงค์ไปยังเอกสารในหัวข้อ บิตคอยน์:ระบบเงินอิเลคโทรนิคแบบเพียร์ทูเพียร์[24] เขียนโดย ซาโตชิ นากาโมโตะ ได้ถูกส่งไปยังกลุ่มรายชื่อของอีเมล์ของวิทยาการเข้ารหัสลับ[23] นากาโมโตะนำซอฟต์แวร์บิตคอยน์มาใช้เป็นโค้ดแบบโอเพนซอร์ซและเปิดตัวในเดือนมกราคม พ.ศ. 2552[25][26] ขณะนั้นจนถึงตอนนี้ตัวตนของนากาโมโตะยังไม่ถูกเปิดเผย[27]

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2552 เครือข่ายบิตคอยน์ถือกำเนิดขึ้นหลัง ซาโตชิ นากาโมโตะ เริ่มขุดบล็อกแรกของเชนที่เรียกว่า บล็อกกำเนิด ที่ให้รางวัลจำนวน 50 บิตคอยน์[28][29]

หนึ่งในผู้สนับสนุน ผู้นำไปใช้ และผู้ร่วมพัฒนา บิตคอยน์ คนแรก ๆ เป็นผู้รับการซื้อขายบิตคอยน์ครั้งแรก เขาเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ชื่อว่า ฮาล ฟินนีย์ (Hal Finney) ฟินนีย์ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์บิตคอยน์ในวันแรกที่เปิดตัว และได้รับ 10 บิตคอยน์จากนากาโมโตะในการซื้อขายบิตคอยน์ครั้งแรกของโลก[30][31] ผู้สนับสนุนแรกเริ่มคนอื่น ๆ ได้แก่ Wei Dai ผู้สร้าง b-money และ Nick Szabo ผู้สร้าง bit gold ทั้งคู่ที่มาก่อนบิตคอยน์[32]

ในช่วงแรก มีการประมาณว่านากาโมโตะได้ทำการขุดจำนวน 1 ล้านบิตคอยน์[33] ในพ.ศ. 2553 นากาโมโตะส่งต่อกุญแจเตือนเครือข่ายและการควบคุมที่เก็บโค้ดหลักบิตคอยน์ (Bitcoin Core code) ให้กับ Gavin Andresen ผู้ที่ต่อมากลายเป็นหัวหน้านักพัฒนาหลักของมูลนิธิบิตคอยน์ (Bitcoin Foundation)[34][35] จากนั้นนากาโมโตะก็เลิกยุ่งเกี่ยวกับบิตคอยน์[36] จากนั้น Andresen ตั้งเป้าหมายว่าจะกระจายอำนาจการควบคุม และกล่าวว่า "หลังซาโตชิถอยออกไปและโยนโครงการมาบนไหล่ของฉัน สิ่งแรกที่ฉันทำคือการพยายามกระจายอำนาจ เพื่อที่โครงการจะไปต่อได้ แม้หากฉันโดนรถบัสชนก็ตาม"[36]

มูลค่าของการแรกเปลี่ยนบิตคอยน์ครั้งแรกถูกต่อรองผ่านทางเว็บบอร์ดพูดคุยบิตคอยน์ โดยมีการซื้อขายครั้งหนึ่งที่ใช้ 10,000 BTC เพื่อซื้อพิซซ่าจำนวนสองถาดแบบอ้อมจาก Papa John's[28]

เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ช่องโหว่ครั้งใหญ่ในโพรโทคอลของบิตคอยน์ถูกพบ การซื้อขายไม่ได้ถูกตรวจสอบอย่างถูกต้องก่อนถูกใส่เข้าไปในบล็อกเชน ทำให้ผู้ใช้สามารถเลี่ยงข้อจำกัดทางเศรษฐศาสตร์ของบิตคอยน์ และสร้างบิตคอยน์ขึ้นมาได้ในจำนวนไม่จำกัด[37][38] ในวันที่ 15 สิงหาคม ช่องโหว่นี้ถูกใช้สร้างกว่า 184 ล้านบิตคอยน์ผ่านการซื้อขายหนึ่งครั้ง และส่งไปยังที่อยู่สองที่ในเครือข่าย ภายในไม่กี่ชั่วโมง การซื้อขายถูกพบและลบออกจากบันทึกหลังบัคได้รับการแก้ไขและโพรโทคอลของบิตคอยน์ได้รับการอัพเดทรุ่น[39][37][38]

เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ฮาร์ดฟอร์ค (hard fork) ของบิตคอยน์ถูกสร้างขึ้น เรียกว่า บิตคอยน์แคช (Bitcoin Cash) บิตคอยน์แคชมีข้อจำกัดของขนาดบล็อกที่ใหญ่ขึ้นและมีบล็อกเชนที่เหมือนกัน ณ เวลาฟอร์ค[40][41]

การออกแบบ

บล็อกเชน

จำนวนข้อมูลออกที่ยังไม่ถูกใช้ในการซื้อขาย

บล็อกเชน เป็น รายการบัญชีแบบสาธารณะที่บันทึกการซื้อขายบิตคอยน์[42] วิธีแก้ปัญหาแบบใหม่ทำสิ่งนี้โดยไม่ต้องพึ่งผู้มีอำนาจส่วนกลาง เพราะการรักษาสภาพบล็อกเชนทำโดยเครือข่ายของจุดต่อ (node) ที่รันซอฟต์แวร์บิตคอยน์ซึ่งสื่อสารกัน[7] การซื้อขายในรูปแบบ ผู้จ่าย X ส่ง Y บิตคอยน์ ให้กับผู้รับ Z ถูกเผยแพร่ไปยังเครือข่ายนี้โดยใช้แอปพลิเคชั่นซอฟต์แวร์ที่มีอยู่[43] จุดต่อเครือข่ายสามารถตรวจสอบการซื้อขาย เพิ่มการซื้อขายไปบนรายการบัญชี จากนั้นเผยแพร่การเพิ่มรายการบัญชีเหล่านี้ไปยังจุดต่ออื่น ๆ บล็อกเชนเป็นฐานข้อมูลแบบกระจาย (distributed database) เพื่อการยืนยันอย่างอิสระของเชนของการเป็นเจ้าของบิตคอยน์ไม่ว่าจะจำนวนเท่าใด แต่ละจุดต่อเครือข่ายจัดเก็บสำเนาบล็อกเชนของตนเอง[44] ประมาณ 6 ครั้งต่อชั่วโมง กลุ่มใหม่ของการซื้อขายที่ถูกยอมรับหรือที่เรียกว่าบล็อกถูกสร้างขึ้น เพิ่มเข้าไปในบล็อกเชน และเผยแพร่ไปยังจุดต่อทั้งหมดอย่างรวดเร็ว สิ่งนี้ทำให้ซอฟต์แวร์บิตคอยน์สามารถตัดสินเมื่อบิตคอยน์จำนวนที่กำหนดถูกใช้ และมีความสำคัญในการป้องกันการใช้ซ้อน (double-spending) ในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีส่วนกลางคอยควบคุม ในขณะที่รายการเดินบัญชีแบบดั้งเดิมบันทึกรายการซื้อขายของธนบัตรจริงหรือตั๋วสัญญาใช้เงิน บล็อกเชนเป็นที่เดียวที่บิตคอยน์สามารถมีอยู่ในรูปแบบของผลลัพธ์ที่ยังไม่ถูกใช้ในการซื้อขาย[45]: ch. 5 

การซื้อขาย

จำนวนการซื้อขายบิตคอยน์ต่อเดือน (logarithmic scale)[46]

การซื้อขายถูกให้ความหมายด้วยภาษาบทคำสั่งที่คล้ายฟอร์ธ (Forth)[45]: ch. 5  การซื้อขายประกอบไปด้วย ข้อมูลเข้า และ ข้อมูลออก เมื่อผู็ใช้ส่งบิตคอยน์ ผู้ใช้กำหนดที่อยู่และจำนวนบิตคอยน์ที่จะส่งไปยังที่อยู่นั้นในข้อมูลออก เพื่อป้องกันการใช้ซ้อน ข้อมูลเข้าแต่ละข้อมูลต้องอ้างอิงกลับไปยังข้อมูลออกอันก่อนที่ยังไม่ได้ใช้ในบล็อกเชน[47] การใช้ข้อมูลเข้าหลายข้อมูลเปรียบเสมือนการใช้เหรียญหลายเหรียญในการซื้อขายด้วยเงินสด ในเมื่อการซื้อขายสามารถมีข้อมูลออกหลายข้อมูล ผู้ใช้สามารถส่งบิตคอยน์ให้กับหลายผู้รับในการซื้อขายหนึ่งครั้ง ผลรวมของข้อมูลเข้า (จำนวนเหรียญที่ใช้จ่าย) สามารถมีจำนวนมากกว่าจำนวนจ่ายทั้งหมด เช่นเดียวกับการซื้อขายด้วยเงินสด ในกรณีนี้ ข้อมูลออกเสริมถูกใช้เพื่อทอนให้กับผู้จ่าย[47] จำนวนซาโตชิที่ถูกป้อนเข้าและไม่ถูกบันทึกสำหรับการซื้อขายออกกลายเป็นค่าธรรมเนียมการซื้อขาย[47]

ค่าธรรมเนียมการซื้อขาย

การซื้อขายบิตคอยน์และค่าธรรมเนียมจากเงินตราแบบดิจิทัลบนเว็บไซต์ไปยังกระเป๋าเงินฮาร์ดแวร์.

การจ่ายค่าธรรมเนียมการซื้อขายเป็นทางเลือก[47] ผู้ขุดสามารถเลือกกายซื้อขายที่จะดำเนินการ[47] และจัดความสำคัญให้การซื้อขายที่จ่ายค่าธรรมเนียมสูงกว่า ค่าธรรมเนียมถูกกำหนดบนฐานของขนาดที่เก็บของการซื้อขายที่เกิดขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนข้อมูลเข้าที่ถูกใช้สร้างการซื้อขาย นอกจากนี้ข้อมูลเข้าเก่าที่ยังไม่ถูกใช้ยังถูกให้ความสำคัญก่อน[45]: ch. 8 

การเป็นเจ้าของ

แบบจำลองลูกโซ่การเป็นเจ้าของ[14] ในความเป็นจริงแล้วการซื้อขายสามารถมีข้อมูลเข้าและข้อมูลออกมากกว่าหนึ่งจำนวน

บิตคอยน์ถูกลงชื่อบนที่อยู่บิตคอยน์ในบล็อกเชน การสร้างที่อยู่บิตคอยน์คือการสุ่มเลือกกุญแจส่วนตัวที่ใช้งานได้และคำนวนที่อยู่บิตคอยน์ที่สัมพันธ์กัน การคำนวนนี้สามารถกินเวลาเพียงเสี่ยววินาที ทว่าการทำกลับกัน (การคำนวนหากุญแจส่วนตัวจากที่อยู่บิตคอยน์) เป็นไปไม่ได้ทางคณิตศาสตร์ ดังนั้นผู้ใช้สามารถเผยแพร่ที่อยู่บิตคอยน์ให้เป็นสาธารณะได้โดยไม่ต้องกลัวว่ากุญแจส่วนตัวจะถูกเปิดเผย นอกจากนี้ จำนวนกุญแจส่วนตัวที่ใช้ได้มีจำนวนเยอะมากจนแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะสุ่มแบบ brute force เจ้าของบิตคอยน์ต้องรู้กุญแจส่วนตัวและที่สัมพันธ์กับที่อยู่และเซ็นแบบดิจิตอลเพื่อให้บิตคอยน์ในการซื้อขาย ระบบตรวจสอบลายเซ็นโดยใช้กุญแจสาธารณะ[45]: ch. 5 

หากกุญแจสาธารณะหายไป ระบบบิตคอยน์จะไม่สามารถจำแนกหลักฐานความเป็นเจ้าของแบบอื่นได้[7] ทำให้เหรียญใช้ไม่ได้และสูญเสียมูลค่า ตัวอย่างเช่น ในพ.ศ. 2556 ผู้ใช้คนหนึ่งอ้างว่าเผลอทิ้งฮาร์ดดิสก์ที่มีกุญแจสาธารณะ ทำให้บิตคอยน์จำนวน 7,500 บิตคอยน์ ซึ่งในขณะนั้นมีมูลค่า 7.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 244 ล้านบาท) ได้หายไป[48] ปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้นหากเพียงเขาสำรองข้อมูลกุญแจไว้[49]

การขุด

กราฟแบบเซมิล็อกของความยากในการขุดสัมพัทธ์[c][46]

การขุด (mining) เป็นบริการบันทึกข้อมูลผ่านการใช้พลังในการคำนวนผล (processing power) ของคอมพิวเตอร์[d] ผู้ขุด (miner) ช่วยทำให้บล็อกเชนมีความสม่ำอเสมอ สมบูรณ์ และเปลี่ยนแปลงไม่ได้ โดยการตรวจสอบซ้ำ ๆ และเก็บบันทึกการซื้อขายใหม่ที่ถูกเผยแพร่ไปยังกลุ่มการซื้อขายใหม่ที่เรียกว่าบล็อก[42] แต่ละบล็อกประกอบไปด้วยการเข้ารหัสแบบแฮช (cryptographic hash) หรือการเข้ารหัสทางเดียว ของบล็อกก่อนหน้า[42] โดยการใช้ขั้นตอนวิธีแฮช SHA-256[45]: ch. 7  ซึ่งเชื่อมต่อกับบล็อกก่อนหน้า[42] เป็นจุดกำเนิดของชื่อบล็อกเชน

บล็อกใหม่ต้องมีสิ่งที่เรียกว่า การพิสูจน์งาน (Proof-of-work) จึงจะได้รับการยอมรับจากระบบ[42] การพิสูจน์งานต้องการให้ผู้ขุดหาตัวเลขที่เรียกว่า nonce ที่ให้ผลลัพธ์จำนวนน้อยกว่าเป้าหมายความยากของระบบเมื่อถูกเข้ารหัสแบบแฮชด้วย nounce[45]: ch. 8  การพิสูจน์นี้ง่ายที่จุดต่อใดก็ตามที่เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายจะทำการตรวจสอบ ทว่ากินเวลาอย่างมากหากจะสร้างขึ้นเอง ผู้ขุดต้องลองจำนวน nounce หลายจำนวนเพื่อบรรลุเป้าหมายความยาก โดยมักเริ่มทดสอบจากค่า 0, 1, 2, 3, ... ตามลำดับ[45]: ch. 8 

ทุก ๆ 2,016 บล็อก (ประมาณ 14 วัน หากใช้เวลา 10 นาทีต่อบล็อก) เป้าหมายความยากถูกปรับตามสมรรถนะใหม่ของระบบ โดยมีเป้าหมายที่จะคงเวลาเฉลี่ยนระหว่าบล็อกใหม่ไว้ที่ 10 นาที วิธีนี้ทำให้ระบบปรับตัวเข้ากับพลังการขุดของเครือข่ายอย่างอัตโนมัติ[45]: ch. 8 

ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2557 จนถึง 1 มีนาคม พ.ศ. 2558 จำนวนเฉลี่ยนของ nounce ที่นักขุดต้องทดลองเพื่อสร้างบล็อกใหม่เพิ่มขึ้นจาก 16.4 × 1018 เป็น 200.5 × 1018[51]

ระบบการพิสูจน์งานคู่กับการต่อกันของบล็อกทำให้การเปลี่ยนแปลงของบล็อกเชนเป็นไปได้ยากมาก เพราะการที่ผู้โจมตีจะทำให้บล็อกหนึ่งได้รับการยอมรับ จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงบล็อกต่อมาที่เชื่อมกันทั้งหมด[52] เมื่อเวลาผ่านไปความยากในการเปลี่ยนแปลงบล็อกเพิ่มข้ึน ด้วยความที่บล็อกใหม่ถูกขุดตลอดเวลาทำให้จำนวนบล็อกที่ตามมาเพิ่มขึ้นไปด้วย[42]

จำนวน

จำนวนบิตคอยน์ทั้งหมดในระบบ[46]

ผู้ขุดที่หาบล็อกใหม่สำเร็จได้รับรางวัลเป็นบิตคอยน์ที่ถูกสร้างขึ้นและค่าธรรมเนียมการซื้อขาย[53] ณ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559[54] รางวัลอยู่ที่จำนวน 12.5 บิตคอยน์ที่ถูกสร้างใหม่ต่อบล็อกที่ถูกเพิ่มไปยังบล็อกเชน เพื่อขอรับรางวัล การซื้อขายพิเศษที่เรียกว่า คอยน์เบส ถูกรวมเข้ากับการจ่ายที่ถูกดำเนินการ[45]: ch. 8  บิตคอยน์ที่มีอยู่ทั้งหมดถูกสร้างด้วยการซื้อขายแบบคอยน์เบสนี้

โพรโทคอลของบิตคอยน์ระบุว่ารางวัลสำหรับการเพิ่มบล็อกจะถูกลดเหลือครึ่งหนึ่งทุก ๆ 210,000 บล็อก (ประมาณทุก ๆ 4 ปี) จนในที่สุดรางวัลจะถูกลดลงเป็นศูนย์ โดยมีจำนวนสูงสุดอยู่ที่ 21 ล้านบิตคอยน์[e] ประมาณปีพ.ศ. 2683 จากนั้นรางวัลของการบันทึกจะเหลือเพียงค่าธรรมเนียมเท่านั้น[55]

กล่าวคือ นากาโมโตะ ผู้สร้างบิตคอยน์ ตั้งนโยบายการเงินบนฐานของความขาดแคลนประดิษฐ์ (artificial scarcity) และทำให้บิตคอยน์ถูกจำกัดอยู่ที่จำนวน 21 ล้านบิตคอยน์ตั้งแต่แรก จำนวนทั้งหมดจะถูกเผยทุก ๆ สิบนาทีและอัตราการสร้างจะลดลงครึ่งหนึ่งทุก ๆ สี่ปีจนบิตคอยน์ทั้งหมดอยู่ในระบบ[56]

การใช้พลังงาน

เหมืองขุดบิตคอยน์ที่ประเทศไอซ์แลนด์

บิตคอยน์ถูกวิจารณ์ในแง้ของความต้องการใช้ไฟฟ้าเพื่อขุด นิตยสาร ดิ อีโคโนมิสต์ ประมาณว่า แม้นักขุดทุกคนจะใช้อุปกรณ์สมัยใหม่ ก็ใช้ไฟประมาณ 166.7 เมกะวัตต์[57][58] ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 กิจกรรมการขุดบิตคอยน์ทั่วโลกถูกประมาณว่าใช้ไฟฟ้ากว่า 3.4 จิกะวัตต์[59]

เพื่อลดค่าใช้จ่าย นักขุดบิตคอยน์สร้างเหมืองในพื้นที่เช่นประเทศไอซ์แลนด์ที่ใช้พลังงานความร้อนใต้พื้นพิภพซึ่งมีราคาถูก และอากาศเย็นแถบอาร์กติกที่ไม่มีค่าใช้จ่าย[60] นักขุดชาวจีนยังใช้พลังงานน้ำในแถบเทศทิเบตเพื่อลดค่าไฟ[61]

บันทึก

  1. ข้อมูลเมื่อ 2014, BTC is a commonly used code.[17] It does not conform to ISO 4217 as BT is the country code of Bhutan, and ISO 4217 requires the first letter used in global commodities to be 'X'.
  2. ข้อมูลเมื่อ 2014, XBT, a code that conforms to ISO 4217 though is not officially part of it, is used by Bloomberg L.P.,[18] CNNMoney,[19] and xe.com.[20]
  3. Relative mining difficulty is defined as the ratio of the difficulty target on 9 January 2009 to the current difficulty target.
  4. It is misleading to think that there is an analogy between gold mining and bitcoin mining. The fact is that gold miners are rewarded for producing gold, while bitcoin miners are not rewarded for producing bitcoins; they are rewarded for their record-keeping services.[50]
  5. The exact number is 20,999,999.9769 bitcoins.[45]: ch. 8 

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Siluk, Shirley (2 June 2013). "June 2 "M Day" promotes millibitcoin as unit of choice". CoinDesk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2017. สืบค้นเมื่อ 25 May 2017. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. "Unicode 10.0.0". Unicode Consortium. 20 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 June 2017. สืบค้นเมื่อ 20 June 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. 3.0 3.1 Jason Mick (12 June 2011). "Cracking the Bitcoin: Digging Into a $131M USD Virtual Currency". Daily Tech. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2013. สืบค้นเมื่อ 30 September 2012. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  4. "Statement of Jennifer Shasky Calvery, Director Financial Crimes Enforcement Network United States Department of the Treasury Before the United States Senate Committee on Banking, Housing, and Urban Affairs Subcommittee on National Security and International Trade and Finance Subcommittee on Economic Policy" (PDF). fincen.gov. Financial Crimes Enforcement Network. 19 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 October 2016. สืบค้นเมื่อ 1 June 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. Empson, Rip (28 March 2013). "Bitcoin: How An Unregulated, Decentralized Virtual Currency Just Became A Billion Dollar Market". TechCrunch. AOL inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2016. สืบค้นเมื่อ 8 October 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. Ron Dorit; Adi Shamir (2012). "Quantitative Analysis of the Full Bitcoin Transaction Graph" (PDF). Cryptology ePrint Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 October 2012. สืบค้นเมื่อ 18 October 2012. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 Jerry Brito; Andrea Castillo (2013). "Bitcoin: A Primer for Policymakers" (PDF). Mercatus Center. George Mason University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 September 2013. สืบค้นเมื่อ 22 October 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |lastauthoramp= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  8. Tschorsch, Florian; Scheuermann, Björn. "Bitcoin and Beyond: A Technical Survey on Decentralized Digital Currencies". IEEE Communications Surveys & Tutorials. 18 (3): 2084–2123. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2017. สืบค้นเมื่อ 24 October 2017. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  9. S., L. (2 November 2015). "Who is Satoshi Nakamoto?". The Economist. The Economist Newspaper Limited. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2016. สืบค้นเมื่อ 23 September 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  10. Davis, Joshua (10 October 2011). "The Crypto-Currency: Bitcoin and its mysterious inventor". The New Yorker. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2014. สืบค้นเมื่อ 31 October 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  11. "What is Bitcoin?". CNN Money. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 October 2015. สืบค้นเมื่อ 16 November 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 100tmerchants
  13. Hileman, Garrick; Rauchs, Michel. "Global Cryptocurrency Benchmarking Study" (PDF). Cambridge University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 April 2017. สืบค้นเมื่อ 14 April 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  14. 14.0 14.1 Nakamoto, Satoshi (October 2008). "Bitcoin: A Peer-to-Peer Electronic Cash System" (PDF). bitcoin.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 March 2014. สืบค้นเมื่อ 28 April 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  15. Vigna, Paul; Casey, Michael J. (January 2015). The Age of Cryptocurrency: How Bitcoin and Digital Money Are Challenging the Global Economic Order (1 ed.). New York: St. Martin's Press. ISBN 978-1-250-06563-6.
  16. "bitcoin". OxfordDictionaries.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 January 2015. สืบค้นเมื่อ 28 December 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  17. Nermin Hajdarbegovic (7 October 2014). "Bitcoin Foundation to Standardise Bitcoin Symbol and Code Next Year". CoinDesk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 January 2015. สืบค้นเมื่อ 28 January 2015. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  18. Romain Dillet (9 August 2013). "Bitcoin Ticker Available On Bloomberg Terminal For Employees". TechCrunch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2014. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  19. "Bitcoin Composite Quote (XBT)". CNN Money. CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2014. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  20. "XBT – Bitcoin". xe.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 November 2014. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  21. "Regulation of Bitcoin in Selected Jurisdictions" (PDF). The Law Library of Congress, Global Legal Research Center. January 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 October 2014. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  22. Katie Pisa; Natasha Maguder (9 July 2014). "Bitcoin your way to a double espresso". cnn.com. CNN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 June 2015. สืบค้นเมื่อ 23 April 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |lastauthoramp= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  23. 23.0 23.1 "What is 'Bitcoin'". Investopedia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 December 2017. สืบค้นเมื่อ 11 October 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  24. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ paper2
  25. Nakamoto, Satoshi (9 January 2009). "Bitcoin v0.1 released". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  26. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NY20112
  27. Feins, William. "Satoshi Nakamoto". www.eurocheddar.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 20 August 2017.
  28. 28.0 28.1 Wallace, Benjamin (23 November 2011). "The Rise and Fall of Bitcoin". Wired. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 October 2013. สืบค้นเมื่อ 13 October 2012. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  29. "Block 0 – Bitcoin Block Explorer". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 October 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  30. Peterson, Andrea (3 January 2014). "Hal Finney received the first Bitcoin transaction. Here's how he describes it". The Washington Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  31. Popper, Nathaniel (30 August 2014). "Hal Finney, Cryptographer and Bitcoin Pioneer, Dies at 58". NYTimes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 September 2014. สืบค้นเมื่อ 2 September 2014. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  32. Wallace, Benjamin (23 November 2011). "The Rise and Fall of Bitcoin". Wired. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2013. สืบค้นเมื่อ 4 November 2013. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  33. McMillan, Robert. "Who Owns the World's Biggest Bitcoin Wallet? The FBI". Wired. Condé Nast. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2016. สืบค้นเมื่อ 7 October 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  34. "Gavin Andresen Steps Down as Bitcoin's Lead Developer". CoinDesk. 8 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 September 2017. สืบค้นเมื่อ 6 December 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  35. Simonite, Tom. "Meet Gavin Andresen, the most powerful person in the world of Bitcoin". MIT Technology Review (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 6 December 2017.
  36. 36.0 36.1 Odell, Matt (21 September 2015). "A Solution To Bitcoin's Governance Problem". TechCrunch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2016. สืบค้นเมื่อ 24 January 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  37. 37.0 37.1 Sawyer, Matt (26 February 2013). "The Beginners Guide To Bitcoin – Everything You Need To Know". Monetarism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  38. 38.0 38.1 "Vulnerability Summary for CVE-2010-5139". National Vulnerability Database. 8 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2014. สืบค้นเมื่อ 22 March 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  39. Nakamoto, Satoshi. "ALERT – we are investigating a problem". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 October 2013. สืบค้นเมื่อ 15 October 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  40. Radcliffe, Brent (20 September 2017). "Bitcoin Cash". Investopedia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 December 2017. สืบค้นเมื่อ 8 December 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  41. Tepper, Fitz. "WTF is bitcoin cash and is it worth anything?". TechCrunch (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 5 December 2017.
  42. 42.0 42.1 42.2 42.3 42.4 42.5 "The great chain of being sure about things". The Economist. The Economist Newspaper Limited. 31 October 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2016. สืบค้นเมื่อ 3 July 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  43. "Bitcoin Wallet". Investopedia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2016. สืบค้นเมื่อ 28 June 2016. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  44. Sparkes, Matthew (9 June 2014). "The coming digital anarchy". The Telegraph. London: Telegraph Media Group Limited. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2015. สืบค้นเมื่อ 7 January 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  45. 45.00 45.01 45.02 45.03 45.04 45.05 45.06 45.07 45.08 45.09 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Antonopoulos2014
  46. 46.0 46.1 46.2 "Charts". Blockchain.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 November 2014. สืบค้นเมื่อ 2 November 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  47. 47.0 47.1 47.2 47.3 47.4 Joshua A. Kroll; Ian C. Davey; Edward W. Felten (11–12 June 2013). "The Economics of Bitcoin Mining, or Bitcoin in the Presence of Adversaries" (PDF). The Twelfth Workshop on the Economics of Information Security (WEIS 2013). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 May 2016. สืบค้นเมื่อ 26 April 2016. A transaction fee is like a tip or gratuity left for the miner. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  48. "Man Throws Away 7,500 Bitcoins, Now Worth $7.5 Million". CBS DC. 29 November 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 January 2014. สืบค้นเมื่อ 23 January 2014. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  49. "How Not to Lose Your Bitcoin in 2017 – CoinDesk". 28 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2017. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  50. Andolfatto, David (31 March 2014). "Bitcoin and Beyond: The Possibilities and Pitfalls of Virtual Currencies" (PDF). Dialogue with the Fed. Federal Reserve Bank of St. Louis. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 April 2014. สืบค้นเมื่อ 16 April 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  51. "Difficulty History" (The ratio of all hashes over valid hashes is D x 4,295,032,833, where D is the published "Difficulty" figure.). Blockchain.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 April 2015. สืบค้นเมื่อ 26 March 2015. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  52. Hampton, Nikolai (5 September 2016). "Understanding the blockchain hype: Why much of it is nothing more than snake oil and spin". Computerworld. IDG. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 September 2016. สืบค้นเมื่อ 5 September 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  53. Ashlee Vance (14 November 2013). "2014 Outlook: Bitcoin Mining Chips, a High-Tech Arms Race". Businessweek. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2013. สืบค้นเมื่อ 24 November 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  54. "Block #420000". Blockchain.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 September 2016. สืบค้นเมื่อ 11 September 2016. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  55. Ritchie S. King; Sam Williams; David Yanofsky (17 December 2013). "By reading this article, you're mining bitcoins". qz.com. Atlantic Media Co. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2013. สืบค้นเมื่อ 17 December 2013. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  56. Shin, Laura (24 May 2016). "Bitcoin Production Will Drop By Half In July, How Will That Affect The Price?". Forbes. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2016. สืบค้นเมื่อ 13 July 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  57. "The magic of mining". The Economist. 13 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2015. สืบค้นเมื่อ 13 January 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  58. "The magic of mining". The Economist. 13 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2015. สืบค้นเมื่อ 13 January 2015. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  59. Hern, Alex (27 November 2017). "Bitcoin mining consumes more electricity a year than Ireland". The Guardian. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 November 2017. สืบค้นเมื่อ 28 November 2017. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dead-url= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  60. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ dh150613
  61. Maras, Elliot (14 September 2016). "China's Mining Dominance: Good Or Bad For Bitcoin?". Cryptocoin News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2016. สืบค้นเมื่อ 25 November 2016. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)