ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำพัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Loveless (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tl:Amber
Wickanet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{otheruses}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Amber.pendants.800pix.050203.jpg|thumb|อำพันที่นำมาทำเป็นเครื่องประดับ]]


[[Image:amber.pendants.800pix.050203.jpg|thumb|อำพันตกแต่งเป็นเหรียญประดับรูปไข่ขนาด 2x1.3 นิ้ว]]
'''อำพัน''' คือ[[ยางไม้]]เก่าแก่เป็น[[ซากดึกดำบรรพ์]]มีสีเหลืองใส เหมือนยางไม้ นิยมใช้เป็นเครื่องประดับ
'''อำพัน''' เป็นซากดึกดำบรรพ์ของยางไม้ เป็นสิ่งมีค่าด้วยสีสันและความสวยงามของมัน อำพันที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะถูกนำมาผลิตเป็นเครื่องประดับและอัญมณี แม้ว่าอำพันจะไม่เป็นแร่แต่ก็ถูกจัดให้เป็นพลอย
==ความเชื่อ==
ความเชื่อเกี่ยวกับอำพัน ช่วยสร้างความสดใสกระปรี้กระเปร่าให้กับร่างกาย


โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจผิดกันว่าอำพันเกิดจากน้ำเลี้ยงของต้นไม้ แท้ที่จริงแล้วน้ำเลี้ยงเป็นของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ในระบบท่อลำเลียงของพืช ขณะที่ยางไม้เป็นอินทรียวัตถุเนื้ออสัณฐานกึ่งแข็งที่ถูกขับออกมาผ่านเซลล์เอพิทีเลียมของพืช

เพราะว่าอำพันเคยเป็นยางไม้ที่เหนียวนิ่มเราจึงพบว่าอาจมีแมลงหรือแม้แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอยู่ในเนื้อของมันได้ ยางไม้ที่มีสภาพเป็นกึ่งซากดึกดำบรรพ์รู้จักกันในนามของ[[โคปอล]]

สีของอำพันมีได้หลากหลายสีสัน ปรกติแล้วจะมีสีน้ำตาล เหลือง หรือส้ม เนื้อของอำพันเองอาจมีสีได้ตั้งแต่ขาวไปจนถึงเป็นสีเหลืองมะนาวอ่อนๆ หรืออาจเป็นสีน้ำตาลจนถึงเกือบสีดำ สีที่พบน้อยได้แก่สีแดงที่บางทีก็เรียกว่า[[อำพันเชอรี่]] อำพันสีเขียวและสีฟ้าหายากที่มีการขุดค้นหากันมาก

อำพันที่มีค่าสูงมากๆจะมีเนื้อโปร่งใส ในทางตรงกันข้ามอำพันที่พบกันมากทั่วไปจะมีสีขุ่นหรือมีเนื้อทึบแสง อำพันเนื้อทึบแสงมักมีฟองอากาศเล็กๆเป็นจำนวนมากที่รู้จักกันในนามของ[[อำพันบาสตาร์ด]]หมายถึงอำพันปลอม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วก็เป็นอำพันของแท้ๆนั่นเอง

==ที่มาของชื่อ==
[[Image:Gouttes-drops-resine-2.jpg|thumb|right|ยางไม้โบราณเป็นแหล่งกำเนิดของอำพัน]]
อำพันหมายถึงแอมเบอร์ในภาษาอังกฤษสืบทอดมาจากคำในภาษาอาราบิกโบราณว่า “แอนบาร์กริส” หรือ “[[แอมเบอร์กริส]]” ซึ่งหมายถึงวัตถุที่เป็นน้ำมันหอมที่ขับออกมาโดยวาฬสเปิร์ม ภาษาอังกฤษยุคกลางและฝรั่งเศสยุคเก่าเขียนเป็น ambre ส่วนภาษาลาตินเก่าเขียนเป็น ambra หรือ ambar เป็นวัตถุที่ลอยน้ำได้และมักถูกซัดไปสะสมตัวอยู่ตามชายหาด ด้วยความสับสนในการใช้ศัพท์ มันจึงถูกนำมาใช้เรียกยางไม้ที่กลายเป็นซากดึกดำบรรพ์ซึ่งก็พบได้ตามชายหาดได้เช่นกัน มีน้ำหนักเบากว่าหินแต่ก็เบาไม่เพียงพอที่จะลอยน้ำได้

[[พลินี เดอะ เอลเดอร์]] ได้สังเกตเห็นซากแมลงอยู่ในเนื้อของอำพันดังที่พบมีการบันทึกไว้ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติของเขา โดยเขาได้อธิบายไว้เป็นทฤษฎีได้อย่างถูกต้องว่าอำพันเคยมีสถานะเป็นของเหลวมาก่อนที่ไหลไปห่อหุ้มตัวแมลงไว้ ที่ทำให้เขาเรียกมันว่า [[ซัคคินั่ม]] หรือ [[หินยางไม้]] ซึ่งทุกวันนี้ก็ยังถูกนำมาใช้เรียก[[กรดซัคคินิก]] และรวมถึง ”ซัคคิไนต์” เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกประเภทของอำพันโดย[[เจมส์ ดวิกต์ ดานา]] (ดูด้านล่างที่อำพันบอลติก)

ภาษากรีกเรียกอำพันว่า ''ηλεκτρον'' (''อิเล็กตรอน'') และถูกเชื่อมโยงไปที่เทพแห่งดวงอาทิตย์ซึ่งอีกฉายาหนึ่งของท่านคือ ''อิเล็กเตอร์'' หรือ ''อะเวกเคนเนอร์'' <ref name=King1>{{cite book | last = King | first = Rev. C.W. | title = The Natural History of Gems or Decorative Stones | publisher = Cambridge (UK) | year = 1867}} [http://www.farlang.com/gemstones/king-gems-decorative-stones/page_315 Amber Chapter, Online version] </ref> มันถูกกล่าวถึงโดย[[ธีโอฟาสตุส]]ที่เป็นไปได้ว่าวัตถุลักษณะนี้เคยมีผู้กล่าวถึงมาแล้วเป็นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล คำว่า ''[[อิเล็กตรอน]]'' ในยุคปัจจุบันถูกนำมาใช้ในปี ค.ศ. 1891 โดยนักฟิสิกส์ชาวไอริช [[ยอร์จ จอห์นสโตน สโตนี]] โดยใช้เป็นคำศัพท์ภาษากรีกสำหรับเรียกอำพัน (ซึ่งถูกแปลให้เป็นอิเล็กตรัม) ตามคุณสมบัติทางไฟฟ้าสถิตของมันเป็นครั้งแรก การลงท้ายด้วย ''-on'' ทั่วไปจะใช้สำหรับอนุภาคในอะตอมทั้งหมดและใช้ในความหมายเดียวกับ ''[[ion]]''<ref>{{cite web | url = http://www.emporia.edu/earthsci/amber/amber.htm | author = Susie Ward Aber | publisher = Emporia State University | title = Welcome to the World of Amber | accessdate = 2007-05-11}} </ref><ref> [http://www.patent-invent.com/electricity/inventions/electron.html Origin of word Electron] </ref>

เมื่อเผาอำพันจะนุ่มและท้ายสุดจะไหม้เกรียมซึ่งเป็นเหตุผลทำไม้คำว่าแอมเบอร์ในภาษาเยอรมันจึงมีความหมายว่า ''หินไหม้'' (ในภาษาเยอรมันใช้คำว่า ''Bernstein'' ส่วนภาษาดัตช์ใช้คำว่า ''barnsteen'') เมื่อเผาอำพันที่อุณหภูมิสูงกว่า 200 องศาเซลเซียสอำพันจะสลายตัวระเหยเป็นน้ำมันของอำพันเหลือเศษเถ้าสีดำที่รู้จักกันว่า "แอมเบอร์โคโลโฟนี" หรือ "แอมเบอร์พิตช์" เมื่อละลายในน้ำมัน[[เทอร์เพนทีน]]หรือน้ำมัน[[ลินซีด]]จะทำให้เกิดน้ำมันชักเงาอำพัน (แอมเบอร์วาร์นิช) หรือครั่งอำพัน (แอมเบอร์แลค)

อำพันจากทะเลบอลติกมีการซื้อขายกันอย่างกว้างขวางมาตั้งแต่โบราณกาลนานกว่า 2,000 ปีมาแล้ว โดยชาวพื้นเมืองเรียกมันว่า ''แกลส'' ด้วยสามารถมองผ่านทะลุได้อย่างแก้ว

ภาษาบอลติกและภาษาลิธัวเนียเรียกอำพันว่า ''ยินตาแรส'' และภาษาแลตเวียเรียกว่า ''ดิงทาร์'' ศัพท์ทั้งสองคำและรวมถึงคำว่า ''แจนทาร์'' ในภาษาสลาฟที่คิดว่าผิดเพี้ยนมาจากภาษาฟีนิเชียนคำว่า ''จายนิตาร์'' (หมายถึงยางไม้ทะเล) อย่างไรก็ตามขณะที่ภาษาสลาฟทั้งหลายอย่างเช่นภาษารัสเซียและภาษาเช็คยังคงสงวนไว้ซึ่งคำภาษาสลาฟเก่าที่ถูกแทนที่ด้วยคำว่า ''เบอซ์ทีน'' ในภาษาโปแลนด์ซึ่งได้มาจากภาษาเยอรมัน
[[Image:Insects in baltic amber.jpg|thumb|ยุงและแมลงในอำพันบอลติกอายุ 40 และ 60 ล้านปีที่ถูกทำเป็นเครื่องประดับร้อยเป็นสายสร้อย]]

==เคมีของอำพัน==
อำพันมีองค์ประกอบเป็นสารเนื้อผสม แต่เนื้อของมันก็ประกอบไปด้วยสารมีชันหลายชนิดที่ละลายได้ใน[[เอทานอล]] [[ไดเอตทิลอีเทอร์]] และ[[คลอโรฟอร์ม]] รวมถึงสารที่ละลายไม่ได้จำพวก[[บิทูเมน]] อำพันประกอบไปด้วยสารโมเลกุลขนาดใหญ่จากการเกิดพอลิเมอร์ด้วยการเติมอนุมูลอิสระของสารดั้งเดิมในกลุ่มของแลบเดน กรดคอมมูนิก คัมมูนอล และไบโฟร์มีน<ref>''Assignment of vibrational spectra of labdatriene derivatives and ambers: A combined experimental and density functional theoretical study'' Manuel Villanueva-García, Antonio Martínez-Richa, and Juvencio Robles [[Arkivoc]] (EJ-1567C) pp 449-458 [http://www.arkat-usa.org/ark/journal/2005/I06_Juaristi/1567/EJ-1567C.asp Online Article]</ref> สารแลบเดนนี้เป็นไดเทอร์ปีน (C<sub>20</sub>H<sub>32</sub>) และไทรอีนซึ่งหมายความว่าเป็นโครงร่างทางอินทรีย์สารของอัลคีน 3 กลุ่มที่ยอมให้เกิดพอลีเมอร์ เมื่ออำพันมีอายุมากขึ้นเรื่อยๆก็จะมีการเกิดพอลิเมอร์มากขึ้นเรื่อยๆเช่นกันพร้อมๆไปกับปฏิกิริยาไอโซเมอร์ การเชื่อมโยงข้าม และการจัดเป็นวง องค์ประกอบเฉลี่ยทั่วๆไปของอำพันเขียนเป็นสูตรทางเคมีได้ว่า [[Carbon|C]]<sub>10</sub>[[Hydrogen|H]]<sub>16</sub>[[Oxygen|O]]

อำพันมีความแตกต่างไปจากโคปอล การเกิดพอลีเมอร์ระหว่างโมเลกุลภายใต้ความกดดันและอุณหภูมิทำให้ยางไม้เปลี่ยนไปเป็นโคปอลก่อน จากนั้นเมื่อโคปอลมีอายุมากขึ้นไปอีกสารเทอร์ปีนในเนื้อของมันจะค่อยๆระเหยออกไปตามกาลเวลาก็จะทำให้โคปอลเปลี่ยนไปเป็นอำพัน
อำพันบอลติกมีความแตกต่างไปจากอำพันชนิดอื่นๆของโลกด้วยเนื้อของมันมีกรด[[ซัคคินิก]]{{Fact|date=April 2008}} ที่ทำให้อำพันบอลติกเป็นที่รู้จักกันในนามของ[[ซัคคิไนต์]]

== อำพันในทางธรณีวิทยา ==
อำพันที่เก่าแก่ที่สุดพบในยุคคาร์บอนิเฟอรัสหรือประมาณ 345 ล้านปีมาแล้ว ส่วนอำพันที่เก่าแก่ที่สุดที่มีแมลงอยู่ในเนื้อของมันด้วยนั้นได้มาจากยุคครีเทเชียสหรือประมาณ 146 ล้านปีมาแล้ว

แหล่งอำพันที่สำคัญที่สุดในเชิงพาณิชย์คือแหล่งในบอลติกและโดมินิกัน<ref>Lecture at the university of cologne http://www.fortunecity.com/campus/geography/243/ambdepos.html</ref>

[[Image:Fossil amber with abee.jpg|thumb|ผึ้งและใบไม้ในเนื้อของอำพัน]]
อำพันบอลติกหรือซัคคิไนต์ (มีบันทึกทางประวัติศาสตร์เรียกกันว่าอำพันปรัสเซีย) ถูกค้นพบเป็นก้อนทรงมนผิวขรุขระในทรายกลอโคไนต์ที่สะสมตัวกันในทะเลหรือที่รู้จักกันว่า “บลูเอิร์ธ” มีอายุสมัยโอลิโกซีนตอนต้นในเขตซัมแลนด์ของปรัสเซียโดยในแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ถูกเรียกขานกันว่า ''แกลสซาเรีย'' หลังปี ค.ศ. 1945 ดินแดนแถบนี้รอบๆเมือง[[โกนิกส์บวก]]ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเมือง[[กาลินิงกราด โอบลาสต์]]ของประเทศรัสเซียซึ่งปัจจุบันมีการทำเหมืองอำพันกันอย่างเป็นระบบมีแบบแผน<ref>{{cite book | first=Jean | last=Langenheim | title=Plant Resins: Chemistry, Evolution, Ecology, and Ethnobotany | publisher=Timber Press Inc. | year=2003|isbn=0-88192-574-8}}</ref> อย่างไรก็ตามดูเหมือนว่ามีอำพันบางส่วนเกิดจากการสะสมตัวในช่วงต้นๆของยุคเทอร์เชียรี (อีโอซีน) และก็ยังพบได้ด้วยในชั้นหินที่มีอายุอ่อนขึ้นมาเช่นกัน มีการพบเศษซากพืชมากมายในเนื้อของอำพันขณะที่เนื้อยางไม้ยังสดๆอยู่ เศษซากพืชเหล่านั้นพิจารณาได้ว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพืชพันธุ์ทางเอเชียตะวันออกและทางตอนใต้ของอเมริกาเหนือ [[เฮนริช กอปเปิร์ต]]ได้ตั้งชื่ออำพันที่มีเศษซากสนไพน์จากป่าบอลติกว่า “ไพไนต์ ซัคคิไนเตอร์” แต่ในส่วนของเศษซากไม้แล้วบางคนพิจารณาว่าดูเหมือนว่าจะไม่ได้แตกต่างไปจากสกุลของสนที่มีการตั้งชื่อกันเอาไว้ก่อนแล้วที่เรียกกันว่า “ไพนัส ซัคคินิเฟอรา” อย่างไรก็ตามไม่น่าจะเป็นไปได้ที่อำพันที่พบจะเกิดขึ้นจากไม้สนเพียงชนิดเดียว เนื่องจากจริงๆแล้วในเนื้ออำพันเหล่านี้พบเศษซากไม้สนต่างสกุลกันอย่างหลากหลาย

อำพันโดมินิกันถูกพิจารณาให้เป็น[[ริติไนต์]]เนื่องจากไม่พบกรดซัคคินิก พบมี 3 แหล่งใหญ่ๆในสาธารณรัฐโดมินิกันคือ [[ลาคอร์ดิลเลอร่าเซฟเทนทริโอนอล]]ทางตอนเหนือ และ[[บายากัวน่า]]และ[[ซาบาน่า]]ทางตะวันออก ในทางเหนือพบว่าชั้นหินที่มีอำพันสะสมอยู่นั้นเป็นพวกหินเนื้อประสม หินทรายที่ตกสะสมตัวบริเวณสันดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ หรือแม้แต่ลงไปในทะเลลึก อำพันที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดและมีความแข็งที่สุดมาจากเขตเทือกเขาทางตอนเหนือของพื้นที่[[แซนติเอโก้]]จากเหมืองที่[[ลาคัมเบอร์]] [[ลาโตก้า]] [[ปาโลควีมาโด้]] [[ลาบูคารา]] และ[[ลอสคาซิออส]]ในคอร์ดิลเลอร่าเซฟเทนทริโอนอลไม่ไกลจากเมืองแซนติเอโก้นัก อำพันจากแนวเทือกเขาเหล่านี้พบฝังตัวแน่นในเนื้อลิกไนต์ของชั้นหินทราย

มีอำพันพบทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง[[บายากัวน่า]]และ[[ซาบาน่า]]ด้วยเหมือนกัน เป็นอำพันมีเนื้ออ่อนกว่าบางทีก็เปราะและเมื่อนำขึ้นมาจากเหมืองแล้วจะเกิดการออกซิเดชันซึ่งทำให้ราคาถูก มีการพบโคปอลด้วยพบว่ามีอายุประมาณ 15-17 ล้านปี ในพื้นที่ทางตะวันออกพบอำพันในชั้นทราย ดินเหนียวปนทราย แทรกสลับด้วยลิกไนต์ รวมถึงชั้นกรวดและชั้นทรายเม็ดปูน ที่มีลักษณะเป็นชั้นบางๆของอินทรียวัตถุแทรกสลับอยู่ด้วย

ทั้งอำพันบอลติกและอำพันโดมินิกันเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยซากดึกดำบรรพ์ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่มีค่ายิ่งเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตของป่าในอดีต <ref>Howard Stableford, BBC, Radio 4: amber http://db.bbc.co.uk/radio4/science/amber.shtml</ref>

อำพันยุค[[ครีเทเชียส]]ตอนกลางมีการพบจากเมือง[[เอลล์สเวิร์ธคันที]] มลรัฐ[[แคนซัส]] เป็นอำพันที่มีอายุประมาณ 100 ล้านปีที่พบซากของ[[แบคทีเรีย]]และ[[อะมีบา]]ฝังอยู่ในเนื้อของมัน จากลักษณะสัณฐานพบว่ามีความใกล้เคียงกับแบคทีเรียสกุล[[เลฟโตทริกซ์]] และอะมีบาสกุล[[พอนติกูลาเรีย]]และ[[เนเบลา]]ที่ได้รับการยืนยัน<ref>
http://www.ucmp.berkeley.edu/museum/171online/PB171BMWPG1.html Benjamin M. Waggoner, ''Bacteria and protists from Middle Cretaceous amber of Ellsworth County, Kansas'', from: PaleoBios, Volume 17, Number 1, Pages 20-26, July 13, 1996</ref>

== สิ่งที่เข้าไปอยู่ในเนื้ออำพัน ==
[[Image:Spider in amber (1).jpg|thumb|แมงมุมในเนื้ออำพัน]]
[[Image:Ant in amber.jpg|thumb|[[มด]]ในเนื้ออำพัน]]
นอกจากในเนื้อของอำพันจะเก็บรักษาโครงสร้างของพืชเอาไว้อย่างสวยงามแล้ว ยังมีการพบซากสัตว์อื่นๆอย่างเช่นซากเหลือของแมลง แมงมุม แอนนาลิด กบ<ref>[http://www.msnbc.msn.com/id/17168489/ Scientist: Frog could be 25 million years old]</ref> crustaceans, marine microfossils<ref>{{cite journal
| doi = 10.1073/pnas.0804980105
| year = 2008
| month = Nov
| author = Girard, V; Schmidt, Ar; Saint, Martin, S; Struwe, S; Perrichot, V; Saint, Martin, Jp; Grosheny, D; Breton, G; Néraudeau, D
| title = Evidence for marine microfossils from amber.
| volume = 105
| issue =
| page = 17426
| issn = 0027-8424
| pmid = 18981417
| journal = Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America
| pages = 17426 }}</ref> และสิ่งมีชีวิตเล็กๆอื่นๆซึ่งถูกจับยึดไว้ด้วยผิวเหนียวๆจนฝังแน่นเข้าไปอยู่ในเนื้อของยางไม้ในขณะที่ยังเป็นของไหลหนืดอยู่ โครงสร้างทางอินทรีย์เกือบทั้งหมดจะหายไปถูกทิ้งไว้เพียงช่องโพลงกลวงเท่านั้นและอาจพบร่องรอยของสารไคตินอยู่บ้าง บางครั้งก็พบเส้นขนและแผงขนปรากฏอยู่ด้วย มักพบเศษชิ้นส่วนของไม้ที่ยังถูกรักษาเนื้อไม้เอาไว้อย่างดีในเนื้อของยางไม้ บางครั้งก็พบใบ ดอก และผลในสภาพที่สมบูรณ์ดีเยี่ยม อำพันอาจพบมีลักษณะคล้ายหยดน้ำหรือเป็นลำเรียวยาวในลักษณะที่เกิดจากการหยดย้อยลงมาจากรอยแผลของต้นไม้ นอกเหนือจากยางไม้จะไหลไปตามผิวของลำต้นไม้แล้ว ยางไม้ยังอาจไหลไปในรูกลวงและรอยแตกของต้นไม้ที่ทำให้สามารถพัฒนาเป็นอำพันที่มีรูปลักษณะไม่แน่นอน.<ref>[http://www.gplatt.demon.co.uk/whatis.htm What is amber?<!-- Bot generated title -->]</ref>

การพัฒนาที่ผิดปรกติของยางไม้เรียกว่า “ซัคคิโนซิส” มักพบมีมลทินปะปนอยู่ในเนื้อของอำพันโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อยางไม้หยดลงไปบนพื้นดินที่จะทำให้อำพันนั้นไร้ค่านอกเสียจากการนำไปทำน้ำมันชักเงาและเราเรียกอำพันที่มีมลทินนี้ว่า “เฟอร์นิสส์” การมีแร่ไพไรต์อยู่ด้วยอาจทำให้อำพันมีสีอมน้ำเงิน อำพันที่เรียกกันว่า[[อำพันสีดำ]]เกิดจากมีลิกไนต์เป็นมลทิน “อำพันโบนี” มีลักษณะขุ่นมัวไปจนถึงมีฟองอากาศเล็กๆในเนื้อของมัน

อำพันที่โปร่งแสงเมื่อนำไปขัดผิวแล้วจะไม่ทำให้โปร่งใสขึ้นมาเสมอไปด้วยมีมลทินที่ปนเปื้อน มีการพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบอำพันที่ขุ่นข้นและทึบแสงเพื่อหาสิ่งที่เข้าไปอยู่ในเนื้ออำพันได้โดยการใช้รังสีเอกซ์ที่มีความคมชัดละเอียดสูงในยุโรเปียน ซินโครตรอน เรดิเอชัน แฟซิลิตี<ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7324564.stm BBC News, " Secret 'dino bugs' revealed", 1 April 2008]</ref> มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเกือบ 360 ชิ้นในเนื้ออำพันทึบแสงจากเมือง[[ชาเรนเทส]]ในฝรั่งเศส พบตัวต่อโบราณ แมลงมีปีก มด และแมงมุมโดยวัดขนาดได้เพียงไม่กี่มิลลิเมตร ซากสิ่งมีชีวิตที่ถูกติดกับอยู่ในเนื้ออำพันทึบแสงเหล่านั้นสามารถถูกสร้างเป็นภาพสามมิติผ่านเครื่องไมโครโตกราฟฟีที่ทำให้เห็นรายละเอียดได้ถึงระดับมาตราส่วนไมโครมีเตอร์ทีเดียว รูปทรงจำลองสามมิติขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นทำด้วยพลาสติกสามารถถูกสร้างขึ้นมาเลียนแบบซากสิ่งมีชีวิตจริงที่อยู่ในเนื้ออำพันเพื่อใช้เป็นสื่อทดแทนในการตั้งชื่อสายพันธุ์ใหม่ของซากดึกดำบรรพ์ในเนื้ออำพันนั้นได้

==แหล่งอำพัน==
===อำพันบอลติก===
[[Image:Lithuanian traditional headdress.jpg|thumb|หญิงสาวชาวลิทัวเนียในชุดประจำชาติพร้อมสายสร้อยอำพัน]]
อำพันบอลติกพบกระจายตัวกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่กว้างของยุโรปตอนเหนือและแผ่ออกมาทางตะวันออกถึง[[อูรัลส์]]

อำพันบอลติกมีส่วนประกอบของกรดซัคคินิกอยู่ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 3 – 8 ซึ่งเป็นลักษณะของอำพันที่มีความขุ่นมัวหรือที่เรียกว่า ''อำพันโบนี'' กลิ่นหอมๆระคายเคืองที่ปล่อยออกมาจากการเผาเป็นของกรดชนิดนี้เป็นหลัก อำพันบอลติกมีความแตกต่างไปจากอำพันอื่นๆตรงที่มีกรดซัคคินิกและเป็นที่มาของชื่อ ''ซัคคิไนต์'' เสนอขึ้นโดยศาสตราจารย์เจมส์ ดวิกต์ ดานา และปัจจุบันก็ใช้เขียนกันทั่วไปในฐานะชื่อทางทางวิทยาศาสตร์สำหรับอำพันปรัสเซียน ซัคคิไนต์มีความแข็งระหว่าง 2 – 3 ซึ่งค่อนข้างจะแข็งกว่ายางไม้กลายเป็นซากดึกดำบรรพ์อื่นๆ มีความถ่วงจำเพาะระหว่าง 1.05 ถึง 1.10 เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์อำพันบอลติกคือ[[ไออาร์สเปคโตรสโคปี]] เครื่องมือนี้นอกจากสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างอำพันบอลติกออกจากอำพันจากแหล่งอื่นๆได้ด้วยค่าการดูดซับคาร์บอนิลจำเพาะแล้ว ยังสามารถตรวจจับอายุสัมพัทธ์ของอำพันหนึ่งๆได้ด้วย อย่างไรก็ตามนักวิทยาศาสตร์ได้ชี้ให้เห็นว่ากรดซัคคินิกดังกล่าวไม่ใช่เป็นองค์ประกอบตั้งต้นของอำพันบอลติกแต่เป็นผลผลิตจากการสลายตัวของ[[กรดเอบิเอทติก]] [http://www.natmus.dk/cons/reports/2002/amber/amber.pdf (Rottlaender, 1970)]

แม้ว่าอำพันจะพบได้ตามชายฝั่งของทะเลบอลติกและทะเลเหนือแต่พื้นที่ผลิตอำพันส่วนใหญ่มาจาก[[แซมเบีย]]หรือ[[แซมแลนด์]]ตามชายฝั่งของเมือง[[โกนิกส์บวก]]ใน[[ปรัสเซีย]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[รัสเซีย]]มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 ประมาณร้อยละ 90 ของอำพันโลกได้มาจาก[[กาลินิงกราด โอบลาสต์]]ของรัสเซียในทะเลบอลติก<ref>[http://science.enotes.com/how-products-encyclopedia/amber How Products Are Made: Amber]</ref> เศษชิ้นของอำพันที่หลุดออกมาจากใต้ท้องทะเลถูกพัดขึ้นมาด้วยแรงคลื่นและไปสะสมตัวที่ชายฝั่ง บางครั้งนักวิจัยก็ลุยลงไปในทะเลพร้อมตาข่ายที่ใช้ลากดึงสาหร่ายทะเลก็จะมีอำพันติดขึ้นมาได้ หรือบริเวณน้ำตื้นๆอาจใช้เรือแล่นออกไปแล้วคราดตักเอาอำพันขึ้นมาจากระหว่างโขดหิน นอกจากนี้อาจจ้างนักประดาน้ำงมลงไปเก็บอำพันในที่ที่น้ำลึกมากขึ้น ครั้งหนึ่งเคยมีการขุดหาอำพันใต้ทะเลอย่างจริงจังที่[[คูโรเนียนลากูน]]โดยสแตนเตียนและเบคเกอร์พ่อค้าอำพันชาวโกนิกส์บวก ในปัจจุบันมีการทำเหมืองอำพันกันอย่างกว้างขวาง ก่อนหน้านี้มีการทำเหมืองเปิดเพื่อขุดหาอำพันแต่ปัจจุบันมีการทำเหมืองใต้ดินด้วย ก้อนทรงมนจาก[[บลูเอิร์ธ]]ต้องปลอดจากเนื้อประสานและปลดส่วนทึบแสงออกไปซึ่งอาจทำได้โดยการเขย่าถังทรงกระบอกที่บรรจุทรายและน้ำ อำพันที่หลุดจากพื้นทะเลจะสูญเสียเปลือกนอกออกไปแต่มักพบพื้นผิวของอำพันเป็นรอยขีดข่วนเป็นพื้นผิวด้านจากการกลิ้งไปมาบนพื้นทราย

นับตั้งแต่ที่มีการจัดตั้ง[[เส้นทางสายอำพัน]]ทำให้อำพันเป็นที่รู้จักกันในนามของ[[ทองปรัสเซีย]] (ซึ่งปัจจุบันก็มีการเรียกกันด้วยว่า[[ทองลิทัวเนีย]]) ทำให้เกิดผลกระทบอย่างใหญ่หลวงทั้งทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม อัญมณีอำพันและเครื่องประดับอำพันถูกนำเสนอแก่นักท่องเที่ยวในร้านขายของที่ระลึกทั้งหลายซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ[[ลิทัวเนีย]] เมืองชายทะเลอย่าง[[พาแลงก้า]]มีการก่อสร้าง[[พิพิธภัณฑ์อำพันพาแลงก้า]]ที่มีการนำเสนอเรื่องราวของอำพันไว้ อำพันสามารถพบได้ใน[[แลตเวีย]] [[เดนมาร์ค]] ทางเหนือของ[[เยอรมนี]] [[โปแลนด์]] และรัสเซียนับตั้งแต่ที่รัสเซียได้ผนวกเอาปรัสเซียเข้าไปอยู่ในการปกครองในปี ค.ศ. 1945

===อำพันโดมินิกัน===
[[Image:blue amber masbaha.jpg|thumb|left|ชุดลูกปัดของอาหรับที่หายาก ([[มาสบาฮา]]) ทำจากอำพันโดมินิกัน ([[อำพันสีฟ้า]])]]
อำพันโดมินิกันแตกต่างไปจากอำพันบอลติกด้วยเป็นอำพันโปร่งแสงและมักพบซากดึกดำบรรพ์อยู่ด้วย ทำให้สามารถรื้อฟื้นระบบนิเวศน์ในอดีตได้อย่างละเอียดของป่าเขตร้อนที่สูญสิ้นไปแล้วมาเป็นเวลานาน<ref name = Poinar/> ยางไม้จากพืชชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วของ[[ฮายเมนนี พรอเทอรา]]นับเป็นแหล่งยางไม้ของอำพันโดมินิกันและอำพันทั้งหมดอาจพบในเขตร้อน อำพันชนิดนี้ไม่เป็นพวก[[ซัคคิไนต์]]แต่จะเป็นพวก[[ริติไนต์]]<ref>Grimaldi, D. A.: Amber - Window to the Past. - American Museum of Natural History, New York 1996</ref> ในทางตรงกันข้ามกับอำพันบอลติก อำพันโดมินิกันในตลาดโลกเป็นอำพันธรรมชาติมาจากเหมืองโดยตรงและไม่ได้มีการปรับแต่งเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งทางกายภาพและทางเคมี อำพันโดมินิกันนี้มีอายุมากถึง 40 ล้านปี<ref>{{cite web |url=http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?sec=health&res=9E0CE2DD123BF936A1575AC0A964958260 |title= 40-Million-Year-Old Extinct Bee Yields Oldest Genetic Material |accessdate=2008-04-15 |last=Browne|first=Malcolm W.|year=1992|work=New York Times}}</ref>

อำพันโดมินิกันทั้งหลายจะเรืองแสง จะพบเป็นสีน้ำเงินได้ยากมาก มันเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินในแสงอาทิตย์ธรรมชาติและแหล่งแสงอื่นๆที่มีรังสีอุลตร้าไวโอเลตทั้งหมดหรือบางส่วน แสงอุลตร้าไวโอเลตซึ่งเป็นแสงคลื่นยาวมีคุณสมบัติสะท้อนแสงได้อย่างรุนแรงคือแสงสีขาวเกือบทั้งหมด ปีหนึ่งๆมีการขุดค้นพบอำพันชนิดนี้เพียงประมาณ 100 กิโลกรัมเท่านั้นซึ่งถือว่าเป็นอำพันที่มีค่าสูงและมีราคาแพง<ref>Manuel A. Iturralde-Vennet 2001. Geology of the Amber-Bearing Deposits of the Greater Antilles. Caribbean Journal of Science, Vol. 00, No. 0, 141-167, 2001</ref>

[[Image:Dragon dominican blue amber.jpg|อำพันโดมินิกันสีน้ำเงินสลักรูปมังกร|left|thumb]]
อำพันโดมินิกันและโดยเฉพาะอย่างยิ่งอำพันโดมินิกันสีน้ำเงินมีการทำเหมืองเปิดกันแบบไม่มีการวางแผน ซึ่งมีอันตรายต่อคนงานเหมืองสูงมากที่ต้องเสี่ยงที่ผนังเหมืองอาจถล่มลงมาทับร่างเหล่าคนงานได้<ref>Wilfred Wichard und Wolfgang Weitschat: Im Bernsteinwald. - Gerstenberg Verlag, Hildesheim, 2004, ISBN 3-8067-2551-9</ref> เหมืองเปิดแบบนี้เป็นการขุดบ่อเหมืองด้วยเครื่องง่ายๆที่หาได้ อาจเริ่มต้นด้วยการใช้มีด และอาจตามด้วย พลั่ว เสียม แชลง และค้อน โดยจะขุดให้ลึกลงไปเท่าที่จะขุดได้หรือเท่าที่จะปลอดภัย บางครั้งลงไปในแนวดิ่ง บางครั้งก็หักทิศทางไปในแนวราบ แต่ไม่เคยมีการวัดคำนวณใดๆ จะทำการขุดคดโค้งไปมาไปที่เชิงเขาบ้าง ดิ่งลึกลงไปบ้าง หรืออาจจะไปบรรจบกับหลุมอื่นๆได้ ขุดตรงเข้าไปจนอาจไปโผล่อีกแห่งหนึ่งโดยไม่ได้คะเนไว้ น้อยนักที่ขนาดของหลุมขุดจะมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะยืนอยู่ได้หรืออาจจะมีเฉพาะที่ตรงทางเข้าเท่านั้น คนงานเหมืองจะคลานเข้าไป ใช้มือจับแชลง พลั่ว หรือมีดที่มีด้ามสั้นๆ อำพันที่พบไม่ขายต่อโดยตรงเป็นวัตถุดิบธรรมชาติก็อาจจะตัดหรือขัดเรียบโดยไม่มีการปรุงแต่งใดๆเพิ่มเติม<ref name=Poinar>George Poinar, Jr. and Roberta Poinar, 1999. ''The Amber Forest: A Reconstruction of a Vanished World'', (Princeton University Press) ISBN 0691028885</ref>

โดยทั่วไปแล้วจะใช้อำพันโดมินิกันเป็นเครื่องประดับและอัญมณี ขณะที่สีสันและสิ่งที่อยู่ในเนื้อของอำพันจะเพิ่มมูลค่าให้มากยิ่งขึ้นทำให้มีราคาแพงเป็นที่หมายปองเพื่อการจัดแสดงทั้งของนักสะสมส่วนตัวและของภาครัฐ<ref>Poinar, G. O.: Life in Amber. - Stanford University Press, Stanford 1992</ref> ในตะวันออกไกลได้มีการนำเอาอำพันสีน้ำเงินที่หายากมากไปเกาะสลักเป็นชิ้นงานทางศิลปะ นอกจากนี้ได้มีการนำเอาอำพันสีน้ำเงินไปทำเป็นอัญมณีด้วยคุณสมบัติเรืองแสงตามธรรมชาติภายใต้แสงอุลตร้าไวโอเลต ในโลกของชาวอิสลาม มีการนำเอาอำพันโดมินิกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกปัดอำพันสีน้ำเงินไปใช้ประกอบการสวดมนต์เพื่อการผ่อนคลายความเครียด<ref>{{cite web |url=http://www.saudiaramcoworld.com/issue/196806/worry.beads.htm |title=''Worry Beads'' -- The use of Misbahas in modern times |accessdate=2008-04-15 |last=Da Cruz|first=Daniel|year=1968 |month=November/December|work=Saudi Aramco World}}</ref><ref>Leif Brost and Ake Dahlstrom. The Amber Book, Geoscience Press, Inc., Tucson , AZ, 1996 ISBN 0-945005-23-7</ref>

===แหล่งอื่นๆ===
แหล่งสะสมตัวของอำพันมีการพบได้ทั่วโลก บางแห่งมีอายุเก่าแก่กว่าแหล่งที่รู้จักกันดีในแถบทะเลบอลติกและในสาธารณรัฐโดมินิกันและบ้างก็มีอายุอ่อนกว่า อำพันบางแห่งมีอายุเก่าแก่ได้ถึง 345 ล้านปี (นอร์ธอัมเบอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา)

แหล่งอำพันที่ไม่ค่อยจะเป็นที่รู้จักกันอยู่ในยูเครนในพื้นที่ป่าบริเวณเขตแดนโวลีน-โปเลซี ด้วยอำพันในพื้นที่นี้อยู่ที่ระดับตื้นๆที่สามารถขุดขึ้นมาได้เพียงใช้เครื่องมือง่ายๆและก็ทำให้ง่ายในการลักลอบขุดค้นภายใต้การปกคลุมด้วยป่าทึบ อำพันในยูเครนนี้มีหลากหลายสีสันและเคยถูกนำไปใช้ปฏิสังขรณ์ห้องแอมเบอร์ในพระบรมมหาราชวังของจักรพรรดินีแคธีรีนในกรุงเซนต์ปีเตอร์เบอร์ก (ดูด้านล่าง)

[[Image:Sailboat from amber.jpg|thumb|เรือใบทำจากอำพันทั้งหมดในร้านขายของชำร่วยแห่งหนึ่ง]]
อำพันชิ้นกลมมนปรกติมีขนาดเล็กๆแต่ก็พบเป็นชิ้นขนาดใหญ่ๆได้ ที่อาจพบได้ในบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของอังกฤษที่เป็นไปได้ว่าถูกชะขึ้นมาจากแหล่งใต้ทะเลเหนือ ที่[[โครเมอร์]]เป็นตำแหน่งที่รู้จักกันดีที่สุด แต่ก็พบได้ในส่วนอื่นๆของชายฝั่ง[[นอร์ฟอล์ค]] อย่างเช่นที่[[เกรตยาร์เมาธ์]] รวมไปถึงที่[[เซ้าธ์โวล์ด]] [[อัลดิเบอร์ก]] และ[[เฟลิกซ์สโตว์]]ใน[[ซัฟฟอล์ค]] และที่ไกลลงไปทางตอนใต้ถึง[[วอลตัน-ออน-เธอะ-นาซ]]ใน[[เอสเซ๊กซ์]] ของอังกฤษ ขณะที่ขึ้นไปทางตอนเหนือนั้นรู้จักกันในยอร์กเชอร์ อีกด้านหนึ่งของทะเลเหนือมีการพบอำพันหลายแห่งตามแนวชายฝั่งของ[[เนเธอร์แลนด์]]และ[[เดนมาร์ค]] บนชายฝั่งของทะเลบอลติกไม่ได้พบเฉพาะในเยอรมนีและโปแลนด์เท่านั้นแต่ยังพบอยู่ทางตอนใต้ของสวีเดนในเบอร์นโฮล์มและหมู่เกาะอื่นๆและรวมไปถึงทางตอนใต้ของ[[ฟินแลนด์]] แหล่งอำพันในทะเลบอลติกและทะเลเหนือบางแห่งเป็นที่รู้จักกันในสมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้วและนำไปสู่การค้าขายกับทางตอนใต้ของยุโรปผ่าน[[เส้นทางสายอำพัน]] อำพันถูกนำไปที่[[โอลเบีย]]ในทะเลดำ [[แมสซิลเลีย]] (ปัจจุบันคือ[[มาร์เซลล์]]) ใน[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] และ[[เอเดรีย]]ที่ส่วนปลายของ[[เอเดรียติก]]และจากจุดศูนย์กลางนี้อำพันถูกแพร่กระจายไปทั่วของโลกยุคกรีกโบราณ

มีการพบอำพันใน[[สวิตเซอร์แลนด์]] [[ออสเตรีย]] และ[[ฝรั่งเศส]] อำพันจากเทือกเขาแอลป์ของสวิตซ์มีอายุประมาณ 55-200 ล้านปี และอำพันจากกอลลิ่งมีอายุประมาณ 225-231 ล้านปี [[อำพันชิชิเลียน]] (โคปอล-สิเมติต) มีอายุประมาณ 10-20 ล้านปี
ในแอฟริกามีการพบโคปอลในประเทศแนวแนวชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในมาดากัสการ์ อำพันมาดากัสการ์มีอายุเพียง 1,000-10,000 ปีเท่านั้นที่ประกอบไปด้วยยางไม้สนที่แข็งตัว ไนจีเรียก็พบอำพันด้วยเหมือนกันซึ่งมีอายุประมาณ 60 ล้านปี

อำพันก็พบได้ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพม่าที่เรียกว่าเบอร์มิต มีอายุประมาณ 50 ล้านปีและ[[อำพันเลบานอน]]มีอายุ 130-135 ล้านปี อำพันในเขตทะเล[[ออสเตรเลีย]]พบได้ใน[[นิวซีแลนด์]]และ[[บอร์เนียว]] ([[อำพันซาราวัก]]) มีอายุ 20-60 และ 70-100 ล้านปี
[[Image:Polished Borneo amber from Sabah.jpg|thumb|อำพันบอร์เนียวโปร่งใสขัดผิวเรียบจากซาบาร์ มาเลเซีย]]
อำพันพบได้ใน[[สหรัฐอเมริกา]]เป็นหย่อมเล็กๆอยู่ในทรายสีเขียวใน[[นิวเจอร์ซี]]แต่มีค่าทางเศรษฐกิจน้อย อำพันยุคครีเทเชียสตอนกลางก็พบใน[[เอลล์สเวอร์ธคันที]] [[รัฐแคนซัส]] มันมีค่าน้อยในการทำเป็นอัญมณี แต่มีค่าอย่างยิ่งต่อนักชีววิทยา แหล่งของอำพันนี้อยู่ใต้ทะเลสาบที่มนุษย์ขุดขึ้น

อำพันเรืองแสงก็พบในรัฐทางตอนใต้ของ[[เชียร์ปาส]]ใน[[เม็กซิโก]]และถูกทำเป็นอัญมณีแบบอายแคตชิ่ง ในอเมริกากลางมีอารยะธรรม[[โอลเม็ค]]ที่มีการทำเหมืองอำพันเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ใน[[เม็กซิโก]]มีตำนานที่หลากหลายที่กล่าวถึงการใช้อำพันในการประดับตกแต่ง และใช้ในการลดความเครียดซึ่งเป็นการเยียวยารักษาแบบธรรมชาติ

ขณะที่อินโดนีเชียก็มีแหล่งอำพันที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่งโดยพบเป็นเศษอำพันขนาดใหญ่ที่ขุดขึ้นมาจากชวาและบาหลี

==การปรับปรุงคุณภาพของอำพัน==
[[Image:Amber hg.jpg|thumb|left|อำพันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.]]
โรงงานอำพันในเวียนนาซึ่งใช้อำพันสีจางๆในการผลิตกล้องยาสูบและอุปกรณ์การสูบบุหรี่อื่นๆโดยการกลึงและขัดพื้นผิวด้วยสารฟอกขาวและน้ำหรือหินผุๆกับน้ำมัน ท้ายสุดทำให้เป็นมันเงาโดยการขัดด้วยผ้าสักหลาดนุ่มๆ

เมื่อค่อยๆเพิ่มความร้อนในอ่างน้ำมันจะทำให้อำพันอ่อนนุ่มและยืดหยุ่น อำพันสองชิ้นอาจหลอมรวมเป็นชิ้นเดียวกันเมื่อทาด้วยน้ำมันลินซีดลงบนผิวของมัน ให้ความร้อน แล้วกดอำพันทั้งสองเข้าหากันขณะที่ยังร้อนอยู่ อำพันที่มีเนื้อขุ่นอาจใสขึ้นในอ่างน้ำมันเมื่อน้ำมันเข้าไปเติมเต็มรูช่องว่างทั้งหลาย ก่อนนี้เราอาจขว้างเศษอำพันเล็กๆทิ้งไปหรืออาจใช้ทำเป็นเพียงน้ำมันชักเงาแต่เดี๋ยวนี้มีการนำไปใช้ในการผลิต[[แอมบรอยด์]]หรือ[[อำพันอัด]] โดยค่อยๆให้ความร้อนกับอำพันแล้วดูดอากาศออก บีบอัดให้อำพันเป็นเนื้อเสมอด้วยเครื่องอัดไฮดรอลิก อำพันที่อ่อนตัวจะถูกกดด้วยแรงเข้าไปในรูของแผ่นโลหะ อำพันที่ได้นี้มีการนำไปใช้กันอย่างกว้างขวางสำหรับทำอัญมณีราคาถูกและวัสดุทำอุปกรณ์สูบบุหรี่ อำพันอัดนี้มีประกายสีแวววาวเมื่อต้องแสงโพลาไรซ์ อำพันอาจถูกทำเทียมได้ด้วยยางไม้อื่นๆเช่น[[โคปอล]]และ[[คอริ]]รวมถึงพวก[[เซลลูลอยด์]]หรือแม้แต่[[แก้ว]] อำพันบอลติกบางครั้งก็มีการทำสีเทียมแต่ก็ยังคงเรียกกันว่าอำพันแท้

มีการพบบ่อยครั้งที่อำพัน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีแมลงอยู่ในเนื้อของมัน) ถูกทำเทียมขึ้นด้วยวัสดุเรซินพลาสติก มีการทดสอบง่ายๆด้วยการใช้เข็ดหมุดร้อนๆสัมผัสลงไปบนพื้นผิววัตถุและทดสอบว่ามีกลิ่นของยางไม้ลอยขึ้นมาหรือไม่ ถ้าไม่ก็ถือว่าเป็นวัตถุทำเทียม อย่างไรก็ตามการทดสอบนี้อาจหาข้อสรุปไม่ได้หากผิวของวัตถุทำเทียมนี้ถูกเคลือบด้วยยางไม้แท้ๆ บ่อยครั้งที่การทำเทียมจะเห็นแมลงอยู่ในเนื้อวัตถุในท่าทางที่สมบูรณ์แบบเกินไป

==ศิลปะและเครื่องประดับจากอำพัน==
[[Image:Amber Bernstein many stones.jpg|thumb|right|หินอำพันที่ยังไม่ได้ขัด]]
อำพันถือเป็นวัตถุทำเครื่องประดับที่มีค่ามากอันหนึ่งที่ย้อนยุคกลับไปยาวนานมาก ดังเช่น มีการพบอำพันอยู่ในสุสานมายซีเนียน อำพันเป็นที่รู้จักกันในกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในทะเลสาบของสวิตเซอร์แลนด์ มีการพบเป็นซากเหลือยุคนีโอลิธิกในเดนมาร์ค ขณะที่ในอังกฤษมีการพบอำพันอยู่ในหลุมฝังศพยุคบรอนซ์
ถ้วยอำพันแห่งเมืองโฮฝ มีการค้นพบถ้วยใบหนึ่งทำจากอำพันในสุสานโบราณยุคบรอนซ์ที่เมืองโฮฝ ในอังกฤษ ที่เดี๋ยวนี้ถูกเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ไบรท์ตัน

มีการค้นพบลูกปัดทำจากอำพันที่ตกสืบทอดมาจากชนเผ่าแองโกล-แซกซอนทางตอนใต้ของอังกฤษ อำพันถือเป็นสิ่งมีค่าที่ถือว่าเป็นเครื่องรางและยังเชื่อกันอีกว่ามีสรรพคุณในการเยียวยารักษาโรคภัย

อำพันถูกใช้ทำลูกปัดและเครื่องประดับ ทำที่สูบบุหรี่และกล้องยาสูบ พวกเติร์กถือกันว่าอำพันมีค่าเป็นพิเศษโดยกล่าวกันว่าสามารถป้องกันการติดเชื้อได้เมื่อใช้ท่อทำจากอำพันต่อจากปากคนหนึ่งไปที่ปากอีกคนหนึ่ง อำพันที่มีค่ายิ่งทางตะวันออกคืออำพันที่ค่อนข้างขุ่นมัวมีสีเหลืองฟางอ่อน อำพันคุณภาพเยี่ยมจะถูกส่งไปเวียนนาเพื่อผลิตอุปกรณ์สำหรับสูบยา

ห้องอำพันเคยเป็นห้องที่สร้างขึ้นด้วยอำพันหนักถึง 6 ตันเนื้อที่ 55 ตารางเมตร สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1701 ตามพระราชบัญชาของกษัตริย์ปรัสเซีย เฟร็ดริช วิลเฮลม ต่อมาได้ถวายเป็นของขวัญแก่พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย (ปีเตอร์มหาราช) ห้องอำพันนี้ถูกซ่อนไว้ให้พ้นสายตาจากการบุกรุกของกองกำลังนาซีในปี ค.ศ. 1941 ผู้เข้าไปค้นหาในปราสาทคัธริน และได้ถอดออกไปแล้วย้ายไปเก็บไว้ที่เมืองโกนิกสบวก อะไรจะเกิดขึ้นกับห้องอำพันนี้หลังจากนั้นยังไม่เป็นที่ชัดเจนแต่มันอาจถูกทำลายไปเมื่อครั้งรัสเซียเผาป้อมปราการของเยอรมนีซึ่งเป็นสถานที่เก็บรักษาห้องอำพันนี้และได้สูญหายไปแล้ว โดยได้มีการสร้างขึ้นใหม่ในปี ค.ศ. 2003<ref> [http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/3025833.stm BBC report on Amber Room] </ref>

[[Image:Bernsteinzimmer01.jpg|thumb|The [[ห้องอำพัน]]ถูกสร้างขึ้นจาก[[อำพันกาลินินการ์ด]]]]
อำพันสามารถนำไปใช้ทำส่วนของฟร็อกของคันชักของไวโอลิน ถูกคิดค้นมอบหมายขึ้นมาโดยเกนนาดี ฟิลิโมนอฝ และผลิตขึ้นโดยช่างทำคันชักไวโอลินระดับฝีมือครูชาวอเมริกันหลังจากนั้น [[เคธ เปค]]
<ref>{{cite news | url=http://www.stringsmagazine.com/instruments/Back_Issues/ST65/AmberBow65.html | title=Mastering New Materials: Commissioning an Amber Bow, no.65 | publisher=Strings magazine | author=Jessamyn Reeves-Brown | date=November 1997 | accessdate=2007-04-09}}</ref>
[[Image:K.Peck amber bow.jpeg|right|thumb|ฟร็อกทำด้วยอำพันผลิตขึ้นโดยเคธ เปค ในปี ค.ศ. 1996/1997 มอบหมายโดยเกนนาดี ฟิลิโมนอฝ]]

== ดูเพิ่มเติม ==
* [[List of types of amber]]
* [[List of minerals]]
* [[Ammolite]]
* [[Copal]]
* [[Dominican amber]]
* [[Spirit of amber]]
* [[Oil of amber]]
* [[Amber Road]]
* [[Amber Room]]
* [[Baltic amber]]

== อ้างอิง ==
{{reflist}}

{{refbegin}}
*{{1911}}
*{{1911EB|Amber (resin)}}
{{refend}}

==เชื่อมต่อภายนอก==
{{commonscat|Amber}}
{{commonscat|Amber}}
* [http://www.emporia.edu/earthsci/amber/amber.htm The World of Amber] Professor Aber's amber page, Earth Science Department of Emporia State University
{{โครงธรณีวิทยา}}
*[http://www.farlang.com/gemstones/amber Farlang many full text historical references on Amber] [[Theophrastus]], [[George Frederick Kunz]], and special on [[Baltic amber]].
* [http://fossilinsects.net/lib.htm IPS Publications on amber inclusions] International Paleoentomological Society: Scientific Articles on amber and its inclusions
* [http://www.webmineral.com/data/Amber.shtml Webmineral on Amber] Physical properties and mineralogical information
* [http://www.mindat.org/min-188.html Mindat Amber] Image and locality information on amber
* [http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?sec=health&res=9E0CE2DD123BF936A1575AC0A964958260 NY Times] 40 million year old extinct bee in Dominican amber


{{Link FA|de}}
{{Jewellery Materials}}


[[Category:Arabic words and phrases]]
[[หมวดหมู่:ซากดึกดำบรรพ์]]
[[Category:Fossil resins]]
[[หมวดหมู่:รัตนชาติ]]
[[Category:Gemstones]]
[[Category:Amorphous solids]]

{{Link FA|de}}


[[ar:كهرمان]]
[[ar:كهرمان]]
บรรทัด 23: บรรทัด 185:
[[da:Rav]]
[[da:Rav]]
[[de:Bernstein]]
[[de:Bernstein]]
[[et:Merevaik]]
[[el:Κεχριμπάρι]]
[[el:Κεχριμπάρι]]
[[en:Amber]]
[[es:Ámbar]]
[[eo:Sukceno]]
[[eo:Sukceno]]
[[es:Ámbar]]
[[et:Merevaik]]
[[fa:کهربا]]
[[fa:کهربا]]
[[fi:Meripihka]]
[[fr:Ambre]]
[[fr:Ambre]]
[[gl:Ámbar]]
[[gl:Ámbar]]
[[he:ענבר]]
[[ko:호박 (화석)]]
[[hr:Jantar]]
[[hr:Jantar]]
[[hu:Borostyán (ásvány)]]
[[id:Ambar]]
[[io:Sucino]]
[[io:Sucino]]
[[id:Ambar]]
[[is:Raf]]
[[is:Raf]]
[[it:Ambra (resina)]]
[[it:Ambra (resina)]]
[[ja:コハク]]
[[he:ענבר]]
[[ko:호박 (화석)]]
[[ku:Karîban]]
[[ku:Karîban]]
[[la:Succinum]]
[[la:Succinum]]
[[lt:Gintaras]]
[[lv:Dzintars]]
[[lv:Dzintars]]
[[nds:Barnsteen]]
[[lt:Gintaras]]
[[hu:Borostyán (ásvány)]]
[[nl:Barnsteen]]
[[nl:Barnsteen]]
[[ja:コハク]]
[[no:Rav]]
[[no:Rav]]
[[nds:Barnsteen]]
[[pl:Bursztyn]]
[[pl:Bursztyn]]
[[pt:Âmbar]]
[[pt:Âmbar]]
[[ro:Chihlimbar]]
[[ro:Chihlimbar]]
[[ru:Янтарь]]
[[ru:Янтарь]]
[[sh:Jantar]]
[[simple:Amber]]
[[simple:Amber]]
[[sk:Jantár]]
[[sk:Jantár]]
[[sl:Jantar]]
[[sl:Jantar]]
[[sr:Ћилибар]]
[[sr:Ћилибар]]
[[sh:Jantar]]
[[fi:Meripihka]]
[[sv:Bärnsten]]
[[sv:Bärnsten]]
[[ta:அம்பர்]]
[[tl:Amber]]
[[tl:Amber]]
[[ta:அம்பர்]]
[[th:อำพัน]]
[[vi:Hổ phách]]
[[tr:Kehribar]]
[[tr:Kehribar]]
[[uk:Бурштин (смола)]]
[[uk:Бурштин (смола)]]
[[vi:Hổ phách]]
[[zh:琥珀]]
[[zh:琥珀]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:39, 29 มีนาคม 2552

อำพันตกแต่งเป็นเหรียญประดับรูปไข่ขนาด 2x1.3 นิ้ว

อำพัน เป็นซากดึกดำบรรพ์ของยางไม้ เป็นสิ่งมีค่าด้วยสีสันและความสวยงามของมัน อำพันที่มีคุณภาพดีเยี่ยมจะถูกนำมาผลิตเป็นเครื่องประดับและอัญมณี แม้ว่าอำพันจะไม่เป็นแร่แต่ก็ถูกจัดให้เป็นพลอย

โดยทั่วไปแล้วจะเข้าใจผิดกันว่าอำพันเกิดจากน้ำเลี้ยงของต้นไม้ แท้ที่จริงแล้วน้ำเลี้ยงเป็นของเหลวที่ไหลเวียนอยู่ในระบบท่อลำเลียงของพืช ขณะที่ยางไม้เป็นอินทรียวัตถุเนื้ออสัณฐานกึ่งแข็งที่ถูกขับออกมาผ่านเซลล์เอพิทีเลียมของพืช

เพราะว่าอำพันเคยเป็นยางไม้ที่เหนียวนิ่มเราจึงพบว่าอาจมีแมลงหรือแม้แต่สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอยู่ในเนื้อของมันได้ ยางไม้ที่มีสภาพเป็นกึ่งซากดึกดำบรรพ์รู้จักกันในนามของโคปอล

สีของอำพันมีได้หลากหลายสีสัน ปรกติแล้วจะมีสีน้ำตาล เหลือง หรือส้ม เนื้อของอำพันเองอาจมีสีได้ตั้งแต่ขาวไปจนถึงเป็นสีเหลืองมะนาวอ่อนๆ หรืออาจเป็นสีน้ำตาลจนถึงเกือบสีดำ สีที่พบน้อยได้แก่สีแดงที่บางทีก็เรียกว่าอำพันเชอรี่ อำพันสีเขียวและสีฟ้าหายากที่มีการขุดค้นหากันมาก

อำพันที่มีค่าสูงมากๆจะมีเนื้อโปร่งใส ในทางตรงกันข้ามอำพันที่พบกันมากทั่วไปจะมีสีขุ่นหรือมีเนื้อทึบแสง อำพันเนื้อทึบแสงมักมีฟองอากาศเล็กๆเป็นจำนวนมากที่รู้จักกันในนามของอำพันบาสตาร์ดหมายถึงอำพันปลอม ซึ่งแท้ที่จริงแล้วก็เป็นอำพันของแท้ๆนั่นเอง

ที่มาของชื่อ

ยางไม้โบราณเป็นแหล่งกำเนิดของอำพัน

อำพันหมายถึงแอมเบอร์ในภาษาอังกฤษสืบทอดมาจากคำในภาษาอาราบิกโบราณว่า “แอนบาร์กริส” หรือ “แอมเบอร์กริส” ซึ่งหมายถึงวัตถุที่เป็นน้ำมันหอมที่ขับออกมาโดยวาฬสเปิร์ม ภาษาอังกฤษยุคกลางและฝรั่งเศสยุคเก่าเขียนเป็น ambre ส่วนภาษาลาตินเก่าเขียนเป็น ambra หรือ ambar เป็นวัตถุที่ลอยน้ำได้และมักถูกซัดไปสะสมตัวอยู่ตามชายหาด ด้วยความสับสนในการใช้ศัพท์ มันจึงถูกนำมาใช้เรียกยางไม้ที่กลายเป็นซากดึกดำบรรพ์ซึ่งก็พบได้ตามชายหาดได้เช่นกัน มีน้ำหนักเบากว่าหินแต่ก็เบาไม่เพียงพอที่จะลอยน้ำได้

พลินี เดอะ เอลเดอร์ ได้สังเกตเห็นซากแมลงอยู่ในเนื้อของอำพันดังที่พบมีการบันทึกไว้ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติของเขา โดยเขาได้อธิบายไว้เป็นทฤษฎีได้อย่างถูกต้องว่าอำพันเคยมีสถานะเป็นของเหลวมาก่อนที่ไหลไปห่อหุ้มตัวแมลงไว้ ที่ทำให้เขาเรียกมันว่า ซัคคินั่ม หรือ หินยางไม้ ซึ่งทุกวันนี้ก็ยังถูกนำมาใช้เรียกกรดซัคคินิก และรวมถึง ”ซัคคิไนต์” เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกประเภทของอำพันโดยเจมส์ ดวิกต์ ดานา (ดูด้านล่างที่อำพันบอลติก)

ภาษากรีกเรียกอำพันว่า ηλεκτρον (อิเล็กตรอน) และถูกเชื่อมโยงไปที่เทพแห่งดวงอาทิตย์ซึ่งอีกฉายาหนึ่งของท่านคือ อิเล็กเตอร์ หรือ อะเวกเคนเนอร์ [1] มันถูกกล่าวถึงโดยธีโอฟาสตุสที่เป็นไปได้ว่าวัตถุลักษณะนี้เคยมีผู้กล่าวถึงมาแล้วเป็นครั้งแรกเมื่อศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล คำว่า อิเล็กตรอน ในยุคปัจจุบันถูกนำมาใช้ในปี ค.ศ. 1891 โดยนักฟิสิกส์ชาวไอริช ยอร์จ จอห์นสโตน สโตนี โดยใช้เป็นคำศัพท์ภาษากรีกสำหรับเรียกอำพัน (ซึ่งถูกแปลให้เป็นอิเล็กตรัม) ตามคุณสมบัติทางไฟฟ้าสถิตของมันเป็นครั้งแรก การลงท้ายด้วย -on ทั่วไปจะใช้สำหรับอนุภาคในอะตอมทั้งหมดและใช้ในความหมายเดียวกับ ion[2][3]

เมื่อเผาอำพันจะนุ่มและท้ายสุดจะไหม้เกรียมซึ่งเป็นเหตุผลทำไม้คำว่าแอมเบอร์ในภาษาเยอรมันจึงมีความหมายว่า หินไหม้ (ในภาษาเยอรมันใช้คำว่า Bernstein ส่วนภาษาดัตช์ใช้คำว่า barnsteen) เมื่อเผาอำพันที่อุณหภูมิสูงกว่า 200 องศาเซลเซียสอำพันจะสลายตัวระเหยเป็นน้ำมันของอำพันเหลือเศษเถ้าสีดำที่รู้จักกันว่า "แอมเบอร์โคโลโฟนี" หรือ "แอมเบอร์พิตช์" เมื่อละลายในน้ำมันเทอร์เพนทีนหรือน้ำมันลินซีดจะทำให้เกิดน้ำมันชักเงาอำพัน (แอมเบอร์วาร์นิช) หรือครั่งอำพัน (แอมเบอร์แลค)

อำพันจากทะเลบอลติกมีการซื้อขายกันอย่างกว้างขวางมาตั้งแต่โบราณกาลนานกว่า 2,000 ปีมาแล้ว โดยชาวพื้นเมืองเรียกมันว่า แกลส ด้วยสามารถมองผ่านทะลุได้อย่างแก้ว

ภาษาบอลติกและภาษาลิธัวเนียเรียกอำพันว่า ยินตาแรส และภาษาแลตเวียเรียกว่า ดิงทาร์ ศัพท์ทั้งสองคำและรวมถึงคำว่า แจนทาร์ ในภาษาสลาฟที่คิดว่าผิดเพี้ยนมาจากภาษาฟีนิเชียนคำว่า จายนิตาร์ (หมายถึงยางไม้ทะเล) อย่างไรก็ตามขณะที่ภาษาสลาฟทั้งหลายอย่างเช่นภาษารัสเซียและภาษาเช็คยังคงสงวนไว้ซึ่งคำภาษาสลาฟเก่าที่ถูกแทนที่ด้วยคำว่า เบอซ์ทีน ในภาษาโปแลนด์ซึ่งได้มาจากภาษาเยอรมัน

ยุงและแมลงในอำพันบอลติกอายุ 40 และ 60 ล้านปีที่ถูกทำเป็นเครื่องประดับร้อยเป็นสายสร้อย

เคมีของอำพัน

อำพันมีองค์ประกอบเป็นสารเนื้อผสม แต่เนื้อของมันก็ประกอบไปด้วยสารมีชันหลายชนิดที่ละลายได้ในเอทานอล ไดเอตทิลอีเทอร์ และคลอโรฟอร์ม รวมถึงสารที่ละลายไม่ได้จำพวกบิทูเมน อำพันประกอบไปด้วยสารโมเลกุลขนาดใหญ่จากการเกิดพอลิเมอร์ด้วยการเติมอนุมูลอิสระของสารดั้งเดิมในกลุ่มของแลบเดน กรดคอมมูนิก คัมมูนอล และไบโฟร์มีน[4] สารแลบเดนนี้เป็นไดเทอร์ปีน (C20H32) และไทรอีนซึ่งหมายความว่าเป็นโครงร่างทางอินทรีย์สารของอัลคีน 3 กลุ่มที่ยอมให้เกิดพอลีเมอร์ เมื่ออำพันมีอายุมากขึ้นเรื่อยๆก็จะมีการเกิดพอลิเมอร์มากขึ้นเรื่อยๆเช่นกันพร้อมๆไปกับปฏิกิริยาไอโซเมอร์ การเชื่อมโยงข้าม และการจัดเป็นวง องค์ประกอบเฉลี่ยทั่วๆไปของอำพันเขียนเป็นสูตรทางเคมีได้ว่า C10H16O

อำพันมีความแตกต่างไปจากโคปอล การเกิดพอลีเมอร์ระหว่างโมเลกุลภายใต้ความกดดันและอุณหภูมิทำให้ยางไม้เปลี่ยนไปเป็นโคปอลก่อน จากนั้นเมื่อโคปอลมีอายุมากขึ้นไปอีกสารเทอร์ปีนในเนื้อของมันจะค่อยๆระเหยออกไปตามกาลเวลาก็จะทำให้โคปอลเปลี่ยนไปเป็นอำพัน

อำพันบอลติกมีความแตกต่างไปจากอำพันชนิดอื่นๆของโลกด้วยเนื้อของมันมีกรดซัคคินิก[ต้องการอ้างอิง] ที่ทำให้อำพันบอลติกเป็นที่รู้จักกันในนามของซัคคิไนต์

อำพันในทางธรณีวิทยา

อำพันที่เก่าแก่ที่สุดพบในยุคคาร์บอนิเฟอรัสหรือประมาณ 345 ล้านปีมาแล้ว ส่วนอำพันที่เก่าแก่ที่สุดที่มีแมลงอยู่ในเนื้อของมันด้วยนั้นได้มาจากยุคครีเทเชียสหรือประมาณ 146 ล้านปีมาแล้ว

แหล่งอำพันที่สำคัญที่สุดในเชิงพาณิชย์คือแหล่งในบอลติกและโดมินิกัน[5]

ไฟล์:Fossil amber with abee.jpg
ผึ้งและใบไม้ในเนื้อของอำพัน

อำพันบอลติกหรือซัคคิไนต์ (มีบันทึกทางประวัติศาสตร์เรียกกันว่าอำพันปรัสเซีย) ถูกค้นพบเป็นก้อนทรงมนผิวขรุขระในทรายกลอโคไนต์ที่สะสมตัวกันในทะเลหรือที่รู้จักกันว่า “บลูเอิร์ธ” มีอายุสมัยโอลิโกซีนตอนต้นในเขตซัมแลนด์ของปรัสเซียโดยในแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ถูกเรียกขานกันว่า แกลสซาเรีย หลังปี ค.ศ. 1945 ดินแดนแถบนี้รอบๆเมืองโกนิกส์บวกถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเมืองกาลินิงกราด โอบลาสต์ของประเทศรัสเซียซึ่งปัจจุบันมีการทำเหมืองอำพันกันอย่างเป็นระบบมีแบบแผน[6] อย่างไรก็ตามดูเหมือนว่ามีอำพันบางส่วนเกิดจากการสะสมตัวในช่วงต้นๆของยุคเทอร์เชียรี (อีโอซีน) และก็ยังพบได้ด้วยในชั้นหินที่มีอายุอ่อนขึ้นมาเช่นกัน มีการพบเศษซากพืชมากมายในเนื้อของอำพันขณะที่เนื้อยางไม้ยังสดๆอยู่ เศษซากพืชเหล่านั้นพิจารณาได้ว่ามีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพืชพันธุ์ทางเอเชียตะวันออกและทางตอนใต้ของอเมริกาเหนือ เฮนริช กอปเปิร์ตได้ตั้งชื่ออำพันที่มีเศษซากสนไพน์จากป่าบอลติกว่า “ไพไนต์ ซัคคิไนเตอร์” แต่ในส่วนของเศษซากไม้แล้วบางคนพิจารณาว่าดูเหมือนว่าจะไม่ได้แตกต่างไปจากสกุลของสนที่มีการตั้งชื่อกันเอาไว้ก่อนแล้วที่เรียกกันว่า “ไพนัส ซัคคินิเฟอรา” อย่างไรก็ตามไม่น่าจะเป็นไปได้ที่อำพันที่พบจะเกิดขึ้นจากไม้สนเพียงชนิดเดียว เนื่องจากจริงๆแล้วในเนื้ออำพันเหล่านี้พบเศษซากไม้สนต่างสกุลกันอย่างหลากหลาย

อำพันโดมินิกันถูกพิจารณาให้เป็นริติไนต์เนื่องจากไม่พบกรดซัคคินิก พบมี 3 แหล่งใหญ่ๆในสาธารณรัฐโดมินิกันคือ ลาคอร์ดิลเลอร่าเซฟเทนทริโอนอลทางตอนเหนือ และบายากัวน่าและซาบาน่าทางตะวันออก ในทางเหนือพบว่าชั้นหินที่มีอำพันสะสมอยู่นั้นเป็นพวกหินเนื้อประสม หินทรายที่ตกสะสมตัวบริเวณสันดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ หรือแม้แต่ลงไปในทะเลลึก อำพันที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดและมีความแข็งที่สุดมาจากเขตเทือกเขาทางตอนเหนือของพื้นที่แซนติเอโก้จากเหมืองที่ลาคัมเบอร์ ลาโตก้า ปาโลควีมาโด้ ลาบูคารา และลอสคาซิออสในคอร์ดิลเลอร่าเซฟเทนทริโอนอลไม่ไกลจากเมืองแซนติเอโก้นัก อำพันจากแนวเทือกเขาเหล่านี้พบฝังตัวแน่นในเนื้อลิกไนต์ของชั้นหินทราย

มีอำพันพบทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองบายากัวน่าและซาบาน่าด้วยเหมือนกัน เป็นอำพันมีเนื้ออ่อนกว่าบางทีก็เปราะและเมื่อนำขึ้นมาจากเหมืองแล้วจะเกิดการออกซิเดชันซึ่งทำให้ราคาถูก มีการพบโคปอลด้วยพบว่ามีอายุประมาณ 15-17 ล้านปี ในพื้นที่ทางตะวันออกพบอำพันในชั้นทราย ดินเหนียวปนทราย แทรกสลับด้วยลิกไนต์ รวมถึงชั้นกรวดและชั้นทรายเม็ดปูน ที่มีลักษณะเป็นชั้นบางๆของอินทรียวัตถุแทรกสลับอยู่ด้วย

ทั้งอำพันบอลติกและอำพันโดมินิกันเป็นแหล่งที่อุดมไปด้วยซากดึกดำบรรพ์ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลที่มีค่ายิ่งเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตของป่าในอดีต [7]

อำพันยุคครีเทเชียสตอนกลางมีการพบจากเมืองเอลล์สเวิร์ธคันที มลรัฐแคนซัส เป็นอำพันที่มีอายุประมาณ 100 ล้านปีที่พบซากของแบคทีเรียและอะมีบาฝังอยู่ในเนื้อของมัน จากลักษณะสัณฐานพบว่ามีความใกล้เคียงกับแบคทีเรียสกุลเลฟโตทริกซ์ และอะมีบาสกุลพอนติกูลาเรียและเนเบลาที่ได้รับการยืนยัน[8]

สิ่งที่เข้าไปอยู่ในเนื้ออำพัน

แมงมุมในเนื้ออำพัน
มดในเนื้ออำพัน

นอกจากในเนื้อของอำพันจะเก็บรักษาโครงสร้างของพืชเอาไว้อย่างสวยงามแล้ว ยังมีการพบซากสัตว์อื่นๆอย่างเช่นซากเหลือของแมลง แมงมุม แอนนาลิด กบ[9] crustaceans, marine microfossils[10] และสิ่งมีชีวิตเล็กๆอื่นๆซึ่งถูกจับยึดไว้ด้วยผิวเหนียวๆจนฝังแน่นเข้าไปอยู่ในเนื้อของยางไม้ในขณะที่ยังเป็นของไหลหนืดอยู่ โครงสร้างทางอินทรีย์เกือบทั้งหมดจะหายไปถูกทิ้งไว้เพียงช่องโพลงกลวงเท่านั้นและอาจพบร่องรอยของสารไคตินอยู่บ้าง บางครั้งก็พบเส้นขนและแผงขนปรากฏอยู่ด้วย มักพบเศษชิ้นส่วนของไม้ที่ยังถูกรักษาเนื้อไม้เอาไว้อย่างดีในเนื้อของยางไม้ บางครั้งก็พบใบ ดอก และผลในสภาพที่สมบูรณ์ดีเยี่ยม อำพันอาจพบมีลักษณะคล้ายหยดน้ำหรือเป็นลำเรียวยาวในลักษณะที่เกิดจากการหยดย้อยลงมาจากรอยแผลของต้นไม้ นอกเหนือจากยางไม้จะไหลไปตามผิวของลำต้นไม้แล้ว ยางไม้ยังอาจไหลไปในรูกลวงและรอยแตกของต้นไม้ที่ทำให้สามารถพัฒนาเป็นอำพันที่มีรูปลักษณะไม่แน่นอน.[11]

การพัฒนาที่ผิดปรกติของยางไม้เรียกว่า “ซัคคิโนซิส” มักพบมีมลทินปะปนอยู่ในเนื้อของอำพันโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อยางไม้หยดลงไปบนพื้นดินที่จะทำให้อำพันนั้นไร้ค่านอกเสียจากการนำไปทำน้ำมันชักเงาและเราเรียกอำพันที่มีมลทินนี้ว่า “เฟอร์นิสส์” การมีแร่ไพไรต์อยู่ด้วยอาจทำให้อำพันมีสีอมน้ำเงิน อำพันที่เรียกกันว่าอำพันสีดำเกิดจากมีลิกไนต์เป็นมลทิน “อำพันโบนี” มีลักษณะขุ่นมัวไปจนถึงมีฟองอากาศเล็กๆในเนื้อของมัน

อำพันที่โปร่งแสงเมื่อนำไปขัดผิวแล้วจะไม่ทำให้โปร่งใสขึ้นมาเสมอไปด้วยมีมลทินที่ปนเปื้อน มีการพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบอำพันที่ขุ่นข้นและทึบแสงเพื่อหาสิ่งที่เข้าไปอยู่ในเนื้ออำพันได้โดยการใช้รังสีเอกซ์ที่มีความคมชัดละเอียดสูงในยุโรเปียน ซินโครตรอน เรดิเอชัน แฟซิลิตี[12] มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังเกือบ 360 ชิ้นในเนื้ออำพันทึบแสงจากเมืองชาเรนเทสในฝรั่งเศส พบตัวต่อโบราณ แมลงมีปีก มด และแมงมุมโดยวัดขนาดได้เพียงไม่กี่มิลลิเมตร ซากสิ่งมีชีวิตที่ถูกติดกับอยู่ในเนื้ออำพันทึบแสงเหล่านั้นสามารถถูกสร้างเป็นภาพสามมิติผ่านเครื่องไมโครโตกราฟฟีที่ทำให้เห็นรายละเอียดได้ถึงระดับมาตราส่วนไมโครมีเตอร์ทีเดียว รูปทรงจำลองสามมิติขยายขนาดให้ใหญ่ขึ้นทำด้วยพลาสติกสามารถถูกสร้างขึ้นมาเลียนแบบซากสิ่งมีชีวิตจริงที่อยู่ในเนื้ออำพันเพื่อใช้เป็นสื่อทดแทนในการตั้งชื่อสายพันธุ์ใหม่ของซากดึกดำบรรพ์ในเนื้ออำพันนั้นได้

แหล่งอำพัน

อำพันบอลติก

หญิงสาวชาวลิทัวเนียในชุดประจำชาติพร้อมสายสร้อยอำพัน

อำพันบอลติกพบกระจายตัวกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่กว้างของยุโรปตอนเหนือและแผ่ออกมาทางตะวันออกถึงอูรัลส์

อำพันบอลติกมีส่วนประกอบของกรดซัคคินิกอยู่ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 3 – 8 ซึ่งเป็นลักษณะของอำพันที่มีความขุ่นมัวหรือที่เรียกว่า อำพันโบนี กลิ่นหอมๆระคายเคืองที่ปล่อยออกมาจากการเผาเป็นของกรดชนิดนี้เป็นหลัก อำพันบอลติกมีความแตกต่างไปจากอำพันอื่นๆตรงที่มีกรดซัคคินิกและเป็นที่มาของชื่อ ซัคคิไนต์ เสนอขึ้นโดยศาสตราจารย์เจมส์ ดวิกต์ ดานา และปัจจุบันก็ใช้เขียนกันทั่วไปในฐานะชื่อทางทางวิทยาศาสตร์สำหรับอำพันปรัสเซียน ซัคคิไนต์มีความแข็งระหว่าง 2 – 3 ซึ่งค่อนข้างจะแข็งกว่ายางไม้กลายเป็นซากดึกดำบรรพ์อื่นๆ มีความถ่วงจำเพาะระหว่าง 1.05 ถึง 1.10 เครื่องมือชนิดหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์อำพันบอลติกคือไออาร์สเปคโตรสโคปี เครื่องมือนี้นอกจากสามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างอำพันบอลติกออกจากอำพันจากแหล่งอื่นๆได้ด้วยค่าการดูดซับคาร์บอนิลจำเพาะแล้ว ยังสามารถตรวจจับอายุสัมพัทธ์ของอำพันหนึ่งๆได้ด้วย อย่างไรก็ตามนักวิทยาศาสตร์ได้ชี้ให้เห็นว่ากรดซัคคินิกดังกล่าวไม่ใช่เป็นองค์ประกอบตั้งต้นของอำพันบอลติกแต่เป็นผลผลิตจากการสลายตัวของกรดเอบิเอทติก (Rottlaender, 1970)

แม้ว่าอำพันจะพบได้ตามชายฝั่งของทะเลบอลติกและทะเลเหนือแต่พื้นที่ผลิตอำพันส่วนใหญ่มาจากแซมเบียหรือแซมแลนด์ตามชายฝั่งของเมืองโกนิกส์บวกในปรัสเซียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 ประมาณร้อยละ 90 ของอำพันโลกได้มาจากกาลินิงกราด โอบลาสต์ของรัสเซียในทะเลบอลติก[13] เศษชิ้นของอำพันที่หลุดออกมาจากใต้ท้องทะเลถูกพัดขึ้นมาด้วยแรงคลื่นและไปสะสมตัวที่ชายฝั่ง บางครั้งนักวิจัยก็ลุยลงไปในทะเลพร้อมตาข่ายที่ใช้ลากดึงสาหร่ายทะเลก็จะมีอำพันติดขึ้นมาได้ หรือบริเวณน้ำตื้นๆอาจใช้เรือแล่นออกไปแล้วคราดตักเอาอำพันขึ้นมาจากระหว่างโขดหิน นอกจากนี้อาจจ้างนักประดาน้ำงมลงไปเก็บอำพันในที่ที่น้ำลึกมากขึ้น ครั้งหนึ่งเคยมีการขุดหาอำพันใต้ทะเลอย่างจริงจังที่คูโรเนียนลากูนโดยสแตนเตียนและเบคเกอร์พ่อค้าอำพันชาวโกนิกส์บวก ในปัจจุบันมีการทำเหมืองอำพันกันอย่างกว้างขวาง ก่อนหน้านี้มีการทำเหมืองเปิดเพื่อขุดหาอำพันแต่ปัจจุบันมีการทำเหมืองใต้ดินด้วย ก้อนทรงมนจากบลูเอิร์ธต้องปลอดจากเนื้อประสานและปลดส่วนทึบแสงออกไปซึ่งอาจทำได้โดยการเขย่าถังทรงกระบอกที่บรรจุทรายและน้ำ อำพันที่หลุดจากพื้นทะเลจะสูญเสียเปลือกนอกออกไปแต่มักพบพื้นผิวของอำพันเป็นรอยขีดข่วนเป็นพื้นผิวด้านจากการกลิ้งไปมาบนพื้นทราย

นับตั้งแต่ที่มีการจัดตั้งเส้นทางสายอำพันทำให้อำพันเป็นที่รู้จักกันในนามของทองปรัสเซีย (ซึ่งปัจจุบันก็มีการเรียกกันด้วยว่าทองลิทัวเนีย) ทำให้เกิดผลกระทบอย่างใหญ่หลวงทั้งทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม อัญมณีอำพันและเครื่องประดับอำพันถูกนำเสนอแก่นักท่องเที่ยวในร้านขายของที่ระลึกทั้งหลายซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของลิทัวเนีย เมืองชายทะเลอย่างพาแลงก้ามีการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์อำพันพาแลงก้าที่มีการนำเสนอเรื่องราวของอำพันไว้ อำพันสามารถพบได้ในแลตเวีย เดนมาร์ค ทางเหนือของเยอรมนี โปแลนด์ และรัสเซียนับตั้งแต่ที่รัสเซียได้ผนวกเอาปรัสเซียเข้าไปอยู่ในการปกครองในปี ค.ศ. 1945

อำพันโดมินิกัน

ไฟล์:Blue amber masbaha.jpg
ชุดลูกปัดของอาหรับที่หายาก (มาสบาฮา) ทำจากอำพันโดมินิกัน (อำพันสีฟ้า)

อำพันโดมินิกันแตกต่างไปจากอำพันบอลติกด้วยเป็นอำพันโปร่งแสงและมักพบซากดึกดำบรรพ์อยู่ด้วย ทำให้สามารถรื้อฟื้นระบบนิเวศน์ในอดีตได้อย่างละเอียดของป่าเขตร้อนที่สูญสิ้นไปแล้วมาเป็นเวลานาน[14] ยางไม้จากพืชชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วของฮายเมนนี พรอเทอรานับเป็นแหล่งยางไม้ของอำพันโดมินิกันและอำพันทั้งหมดอาจพบในเขตร้อน อำพันชนิดนี้ไม่เป็นพวกซัคคิไนต์แต่จะเป็นพวกริติไนต์[15] ในทางตรงกันข้ามกับอำพันบอลติก อำพันโดมินิกันในตลาดโลกเป็นอำพันธรรมชาติมาจากเหมืองโดยตรงและไม่ได้มีการปรับแต่งเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งทางกายภาพและทางเคมี อำพันโดมินิกันนี้มีอายุมากถึง 40 ล้านปี[16]

อำพันโดมินิกันทั้งหลายจะเรืองแสง จะพบเป็นสีน้ำเงินได้ยากมาก มันเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินในแสงอาทิตย์ธรรมชาติและแหล่งแสงอื่นๆที่มีรังสีอุลตร้าไวโอเลตทั้งหมดหรือบางส่วน แสงอุลตร้าไวโอเลตซึ่งเป็นแสงคลื่นยาวมีคุณสมบัติสะท้อนแสงได้อย่างรุนแรงคือแสงสีขาวเกือบทั้งหมด ปีหนึ่งๆมีการขุดค้นพบอำพันชนิดนี้เพียงประมาณ 100 กิโลกรัมเท่านั้นซึ่งถือว่าเป็นอำพันที่มีค่าสูงและมีราคาแพง[17]

ไฟล์:Dragon dominican blue amber.jpg
อำพันโดมินิกันสีน้ำเงินสลักรูปมังกร

อำพันโดมินิกันและโดยเฉพาะอย่างยิ่งอำพันโดมินิกันสีน้ำเงินมีการทำเหมืองเปิดกันแบบไม่มีการวางแผน ซึ่งมีอันตรายต่อคนงานเหมืองสูงมากที่ต้องเสี่ยงที่ผนังเหมืองอาจถล่มลงมาทับร่างเหล่าคนงานได้[18] เหมืองเปิดแบบนี้เป็นการขุดบ่อเหมืองด้วยเครื่องง่ายๆที่หาได้ อาจเริ่มต้นด้วยการใช้มีด และอาจตามด้วย พลั่ว เสียม แชลง และค้อน โดยจะขุดให้ลึกลงไปเท่าที่จะขุดได้หรือเท่าที่จะปลอดภัย บางครั้งลงไปในแนวดิ่ง บางครั้งก็หักทิศทางไปในแนวราบ แต่ไม่เคยมีการวัดคำนวณใดๆ จะทำการขุดคดโค้งไปมาไปที่เชิงเขาบ้าง ดิ่งลึกลงไปบ้าง หรืออาจจะไปบรรจบกับหลุมอื่นๆได้ ขุดตรงเข้าไปจนอาจไปโผล่อีกแห่งหนึ่งโดยไม่ได้คะเนไว้ น้อยนักที่ขนาดของหลุมขุดจะมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะยืนอยู่ได้หรืออาจจะมีเฉพาะที่ตรงทางเข้าเท่านั้น คนงานเหมืองจะคลานเข้าไป ใช้มือจับแชลง พลั่ว หรือมีดที่มีด้ามสั้นๆ อำพันที่พบไม่ขายต่อโดยตรงเป็นวัตถุดิบธรรมชาติก็อาจจะตัดหรือขัดเรียบโดยไม่มีการปรุงแต่งใดๆเพิ่มเติม[14]

โดยทั่วไปแล้วจะใช้อำพันโดมินิกันเป็นเครื่องประดับและอัญมณี ขณะที่สีสันและสิ่งที่อยู่ในเนื้อของอำพันจะเพิ่มมูลค่าให้มากยิ่งขึ้นทำให้มีราคาแพงเป็นที่หมายปองเพื่อการจัดแสดงทั้งของนักสะสมส่วนตัวและของภาครัฐ[19] ในตะวันออกไกลได้มีการนำเอาอำพันสีน้ำเงินที่หายากมากไปเกาะสลักเป็นชิ้นงานทางศิลปะ นอกจากนี้ได้มีการนำเอาอำพันสีน้ำเงินไปทำเป็นอัญมณีด้วยคุณสมบัติเรืองแสงตามธรรมชาติภายใต้แสงอุลตร้าไวโอเลต ในโลกของชาวอิสลาม มีการนำเอาอำพันโดมินิกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกปัดอำพันสีน้ำเงินไปใช้ประกอบการสวดมนต์เพื่อการผ่อนคลายความเครียด[20][21]

แหล่งอื่นๆ

แหล่งสะสมตัวของอำพันมีการพบได้ทั่วโลก บางแห่งมีอายุเก่าแก่กว่าแหล่งที่รู้จักกันดีในแถบทะเลบอลติกและในสาธารณรัฐโดมินิกันและบ้างก็มีอายุอ่อนกว่า อำพันบางแห่งมีอายุเก่าแก่ได้ถึง 345 ล้านปี (นอร์ธอัมเบอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา)

แหล่งอำพันที่ไม่ค่อยจะเป็นที่รู้จักกันอยู่ในยูเครนในพื้นที่ป่าบริเวณเขตแดนโวลีน-โปเลซี ด้วยอำพันในพื้นที่นี้อยู่ที่ระดับตื้นๆที่สามารถขุดขึ้นมาได้เพียงใช้เครื่องมือง่ายๆและก็ทำให้ง่ายในการลักลอบขุดค้นภายใต้การปกคลุมด้วยป่าทึบ อำพันในยูเครนนี้มีหลากหลายสีสันและเคยถูกนำไปใช้ปฏิสังขรณ์ห้องแอมเบอร์ในพระบรมมหาราชวังของจักรพรรดินีแคธีรีนในกรุงเซนต์ปีเตอร์เบอร์ก (ดูด้านล่าง)

เรือใบทำจากอำพันทั้งหมดในร้านขายของชำร่วยแห่งหนึ่ง

อำพันชิ้นกลมมนปรกติมีขนาดเล็กๆแต่ก็พบเป็นชิ้นขนาดใหญ่ๆได้ ที่อาจพบได้ในบริเวณชายฝั่งด้านตะวันออกของอังกฤษที่เป็นไปได้ว่าถูกชะขึ้นมาจากแหล่งใต้ทะเลเหนือ ที่โครเมอร์เป็นตำแหน่งที่รู้จักกันดีที่สุด แต่ก็พบได้ในส่วนอื่นๆของชายฝั่งนอร์ฟอล์ค อย่างเช่นที่เกรตยาร์เมาธ์ รวมไปถึงที่เซ้าธ์โวล์ด อัลดิเบอร์ก และเฟลิกซ์สโตว์ในซัฟฟอล์ค และที่ไกลลงไปทางตอนใต้ถึงวอลตัน-ออน-เธอะ-นาซในเอสเซ๊กซ์ ของอังกฤษ ขณะที่ขึ้นไปทางตอนเหนือนั้นรู้จักกันในยอร์กเชอร์ อีกด้านหนึ่งของทะเลเหนือมีการพบอำพันหลายแห่งตามแนวชายฝั่งของเนเธอร์แลนด์และเดนมาร์ค บนชายฝั่งของทะเลบอลติกไม่ได้พบเฉพาะในเยอรมนีและโปแลนด์เท่านั้นแต่ยังพบอยู่ทางตอนใต้ของสวีเดนในเบอร์นโฮล์มและหมู่เกาะอื่นๆและรวมไปถึงทางตอนใต้ของฟินแลนด์ แหล่งอำพันในทะเลบอลติกและทะเลเหนือบางแห่งเป็นที่รู้จักกันในสมัยก่อนประวัติศาสตร์แล้วและนำไปสู่การค้าขายกับทางตอนใต้ของยุโรปผ่านเส้นทางสายอำพัน อำพันถูกนำไปที่โอลเบียในทะเลดำ แมสซิลเลีย (ปัจจุบันคือมาร์เซลล์) ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และเอเดรียที่ส่วนปลายของเอเดรียติกและจากจุดศูนย์กลางนี้อำพันถูกแพร่กระจายไปทั่วของโลกยุคกรีกโบราณ

มีการพบอำพันในสวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และฝรั่งเศส อำพันจากเทือกเขาแอลป์ของสวิตซ์มีอายุประมาณ 55-200 ล้านปี และอำพันจากกอลลิ่งมีอายุประมาณ 225-231 ล้านปี อำพันชิชิเลียน (โคปอล-สิเมติต) มีอายุประมาณ 10-20 ล้านปี ในแอฟริกามีการพบโคปอลในประเทศแนวแนวชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในมาดากัสการ์ อำพันมาดากัสการ์มีอายุเพียง 1,000-10,000 ปีเท่านั้นที่ประกอบไปด้วยยางไม้สนที่แข็งตัว ไนจีเรียก็พบอำพันด้วยเหมือนกันซึ่งมีอายุประมาณ 60 ล้านปี

อำพันก็พบได้ในเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพม่าที่เรียกว่าเบอร์มิต มีอายุประมาณ 50 ล้านปีและอำพันเลบานอนมีอายุ 130-135 ล้านปี อำพันในเขตทะเลออสเตรเลียพบได้ในนิวซีแลนด์และบอร์เนียว (อำพันซาราวัก) มีอายุ 20-60 และ 70-100 ล้านปี

อำพันบอร์เนียวโปร่งใสขัดผิวเรียบจากซาบาร์ มาเลเซีย

อำพันพบได้ในสหรัฐอเมริกาเป็นหย่อมเล็กๆอยู่ในทรายสีเขียวในนิวเจอร์ซีแต่มีค่าทางเศรษฐกิจน้อย อำพันยุคครีเทเชียสตอนกลางก็พบในเอลล์สเวอร์ธคันที รัฐแคนซัส มันมีค่าน้อยในการทำเป็นอัญมณี แต่มีค่าอย่างยิ่งต่อนักชีววิทยา แหล่งของอำพันนี้อยู่ใต้ทะเลสาบที่มนุษย์ขุดขึ้น

อำพันเรืองแสงก็พบในรัฐทางตอนใต้ของเชียร์ปาสในเม็กซิโกและถูกทำเป็นอัญมณีแบบอายแคตชิ่ง ในอเมริกากลางมีอารยะธรรมโอลเม็คที่มีการทำเหมืองอำพันเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ในเม็กซิโกมีตำนานที่หลากหลายที่กล่าวถึงการใช้อำพันในการประดับตกแต่ง และใช้ในการลดความเครียดซึ่งเป็นการเยียวยารักษาแบบธรรมชาติ

ขณะที่อินโดนีเชียก็มีแหล่งอำพันที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่งโดยพบเป็นเศษอำพันขนาดใหญ่ที่ขุดขึ้นมาจากชวาและบาหลี

การปรับปรุงคุณภาพของอำพัน

อำพันขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม.

โรงงานอำพันในเวียนนาซึ่งใช้อำพันสีจางๆในการผลิตกล้องยาสูบและอุปกรณ์การสูบบุหรี่อื่นๆโดยการกลึงและขัดพื้นผิวด้วยสารฟอกขาวและน้ำหรือหินผุๆกับน้ำมัน ท้ายสุดทำให้เป็นมันเงาโดยการขัดด้วยผ้าสักหลาดนุ่มๆ

เมื่อค่อยๆเพิ่มความร้อนในอ่างน้ำมันจะทำให้อำพันอ่อนนุ่มและยืดหยุ่น อำพันสองชิ้นอาจหลอมรวมเป็นชิ้นเดียวกันเมื่อทาด้วยน้ำมันลินซีดลงบนผิวของมัน ให้ความร้อน แล้วกดอำพันทั้งสองเข้าหากันขณะที่ยังร้อนอยู่ อำพันที่มีเนื้อขุ่นอาจใสขึ้นในอ่างน้ำมันเมื่อน้ำมันเข้าไปเติมเต็มรูช่องว่างทั้งหลาย ก่อนนี้เราอาจขว้างเศษอำพันเล็กๆทิ้งไปหรืออาจใช้ทำเป็นเพียงน้ำมันชักเงาแต่เดี๋ยวนี้มีการนำไปใช้ในการผลิตแอมบรอยด์หรืออำพันอัด โดยค่อยๆให้ความร้อนกับอำพันแล้วดูดอากาศออก บีบอัดให้อำพันเป็นเนื้อเสมอด้วยเครื่องอัดไฮดรอลิก อำพันที่อ่อนตัวจะถูกกดด้วยแรงเข้าไปในรูของแผ่นโลหะ อำพันที่ได้นี้มีการนำไปใช้กันอย่างกว้างขวางสำหรับทำอัญมณีราคาถูกและวัสดุทำอุปกรณ์สูบบุหรี่ อำพันอัดนี้มีประกายสีแวววาวเมื่อต้องแสงโพลาไรซ์ อำพันอาจถูกทำเทียมได้ด้วยยางไม้อื่นๆเช่นโคปอลและคอริรวมถึงพวกเซลลูลอยด์หรือแม้แต่แก้ว อำพันบอลติกบางครั้งก็มีการทำสีเทียมแต่ก็ยังคงเรียกกันว่าอำพันแท้

มีการพบบ่อยครั้งที่อำพัน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่มีแมลงอยู่ในเนื้อของมัน) ถูกทำเทียมขึ้นด้วยวัสดุเรซินพลาสติก มีการทดสอบง่ายๆด้วยการใช้เข็ดหมุดร้อนๆสัมผัสลงไปบนพื้นผิววัตถุและทดสอบว่ามีกลิ่นของยางไม้ลอยขึ้นมาหรือไม่ ถ้าไม่ก็ถือว่าเป็นวัตถุทำเทียม อย่างไรก็ตามการทดสอบนี้อาจหาข้อสรุปไม่ได้หากผิวของวัตถุทำเทียมนี้ถูกเคลือบด้วยยางไม้แท้ๆ บ่อยครั้งที่การทำเทียมจะเห็นแมลงอยู่ในเนื้อวัตถุในท่าทางที่สมบูรณ์แบบเกินไป

ศิลปะและเครื่องประดับจากอำพัน

หินอำพันที่ยังไม่ได้ขัด

อำพันถือเป็นวัตถุทำเครื่องประดับที่มีค่ามากอันหนึ่งที่ย้อนยุคกลับไปยาวนานมาก ดังเช่น มีการพบอำพันอยู่ในสุสานมายซีเนียน อำพันเป็นที่รู้จักกันในกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในทะเลสาบของสวิตเซอร์แลนด์ มีการพบเป็นซากเหลือยุคนีโอลิธิกในเดนมาร์ค ขณะที่ในอังกฤษมีการพบอำพันอยู่ในหลุมฝังศพยุคบรอนซ์

ถ้วยอำพันแห่งเมืองโฮฝ มีการค้นพบถ้วยใบหนึ่งทำจากอำพันในสุสานโบราณยุคบรอนซ์ที่เมืองโฮฝ ในอังกฤษ ที่เดี๋ยวนี้ถูกเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ไบรท์ตัน

มีการค้นพบลูกปัดทำจากอำพันที่ตกสืบทอดมาจากชนเผ่าแองโกล-แซกซอนทางตอนใต้ของอังกฤษ อำพันถือเป็นสิ่งมีค่าที่ถือว่าเป็นเครื่องรางและยังเชื่อกันอีกว่ามีสรรพคุณในการเยียวยารักษาโรคภัย

อำพันถูกใช้ทำลูกปัดและเครื่องประดับ ทำที่สูบบุหรี่และกล้องยาสูบ พวกเติร์กถือกันว่าอำพันมีค่าเป็นพิเศษโดยกล่าวกันว่าสามารถป้องกันการติดเชื้อได้เมื่อใช้ท่อทำจากอำพันต่อจากปากคนหนึ่งไปที่ปากอีกคนหนึ่ง อำพันที่มีค่ายิ่งทางตะวันออกคืออำพันที่ค่อนข้างขุ่นมัวมีสีเหลืองฟางอ่อน อำพันคุณภาพเยี่ยมจะถูกส่งไปเวียนนาเพื่อผลิตอุปกรณ์สำหรับสูบยา

ห้องอำพันเคยเป็นห้องที่สร้างขึ้นด้วยอำพันหนักถึง 6 ตันเนื้อที่ 55 ตารางเมตร สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1701 ตามพระราชบัญชาของกษัตริย์ปรัสเซีย เฟร็ดริช วิลเฮลม ต่อมาได้ถวายเป็นของขวัญแก่พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย (ปีเตอร์มหาราช) ห้องอำพันนี้ถูกซ่อนไว้ให้พ้นสายตาจากการบุกรุกของกองกำลังนาซีในปี ค.ศ. 1941 ผู้เข้าไปค้นหาในปราสาทคัธริน และได้ถอดออกไปแล้วย้ายไปเก็บไว้ที่เมืองโกนิกสบวก อะไรจะเกิดขึ้นกับห้องอำพันนี้หลังจากนั้นยังไม่เป็นที่ชัดเจนแต่มันอาจถูกทำลายไปเมื่อครั้งรัสเซียเผาป้อมปราการของเยอรมนีซึ่งเป็นสถานที่เก็บรักษาห้องอำพันนี้และได้สูญหายไปแล้ว โดยได้มีการสร้างขึ้นใหม่ในปี ค.ศ. 2003[22]

The ห้องอำพันถูกสร้างขึ้นจากอำพันกาลินินการ์ด

อำพันสามารถนำไปใช้ทำส่วนของฟร็อกของคันชักของไวโอลิน ถูกคิดค้นมอบหมายขึ้นมาโดยเกนนาดี ฟิลิโมนอฝ และผลิตขึ้นโดยช่างทำคันชักไวโอลินระดับฝีมือครูชาวอเมริกันหลังจากนั้น เคธ เปค [23]

ไฟล์:K.Peck amber bow.jpeg
ฟร็อกทำด้วยอำพันผลิตขึ้นโดยเคธ เปค ในปี ค.ศ. 1996/1997 มอบหมายโดยเกนนาดี ฟิลิโมนอฝ

ดูเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. King, Rev. C.W. (1867). The Natural History of Gems or Decorative Stones. Cambridge (UK). Amber Chapter, Online version
  2. Susie Ward Aber. "Welcome to the World of Amber". Emporia State University. สืบค้นเมื่อ 2007-05-11.
  3. Origin of word Electron
  4. Assignment of vibrational spectra of labdatriene derivatives and ambers: A combined experimental and density functional theoretical study Manuel Villanueva-García, Antonio Martínez-Richa, and Juvencio Robles Arkivoc (EJ-1567C) pp 449-458 Online Article
  5. Lecture at the university of cologne http://www.fortunecity.com/campus/geography/243/ambdepos.html
  6. Langenheim, Jean (2003). Plant Resins: Chemistry, Evolution, Ecology, and Ethnobotany. Timber Press Inc. ISBN 0-88192-574-8.
  7. Howard Stableford, BBC, Radio 4: amber http://db.bbc.co.uk/radio4/science/amber.shtml
  8. http://www.ucmp.berkeley.edu/museum/171online/PB171BMWPG1.html Benjamin M. Waggoner, Bacteria and protists from Middle Cretaceous amber of Ellsworth County, Kansas, from: PaleoBios, Volume 17, Number 1, Pages 20-26, July 13, 1996
  9. Scientist: Frog could be 25 million years old
  10. Girard, V; Schmidt, Ar; Saint, Martin, S; Struwe, S; Perrichot, V; Saint, Martin, Jp; Grosheny, D; Breton, G; Néraudeau, D (2008). "Evidence for marine microfossils from amber". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 105: 17426. doi:10.1073/pnas.0804980105. ISSN 0027-8424. PMID 18981417. {{cite journal}}: ระบุ |pages= และ |page= มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  11. What is amber?
  12. BBC News, " Secret 'dino bugs' revealed", 1 April 2008
  13. How Products Are Made: Amber
  14. 14.0 14.1 George Poinar, Jr. and Roberta Poinar, 1999. The Amber Forest: A Reconstruction of a Vanished World, (Princeton University Press) ISBN 0691028885
  15. Grimaldi, D. A.: Amber - Window to the Past. - American Museum of Natural History, New York 1996
  16. Browne, Malcolm W. (1992). "40-Million-Year-Old Extinct Bee Yields Oldest Genetic Material". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-04-15.
  17. Manuel A. Iturralde-Vennet 2001. Geology of the Amber-Bearing Deposits of the Greater Antilles. Caribbean Journal of Science, Vol. 00, No. 0, 141-167, 2001
  18. Wilfred Wichard und Wolfgang Weitschat: Im Bernsteinwald. - Gerstenberg Verlag, Hildesheim, 2004, ISBN 3-8067-2551-9
  19. Poinar, G. O.: Life in Amber. - Stanford University Press, Stanford 1992
  20. Da Cruz, Daniel (1968). "Worry Beads -- The use of Misbahas in modern times". Saudi Aramco World. สืบค้นเมื่อ 2008-04-15. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  21. Leif Brost and Ake Dahlstrom. The Amber Book, Geoscience Press, Inc., Tucson , AZ, 1996 ISBN 0-945005-23-7
  22. BBC report on Amber Room
  23. Jessamyn Reeves-Brown (November 1997). "Mastering New Materials: Commissioning an Amber Bow, no.65". Strings magazine. สืบค้นเมื่อ 2007-04-09.

เชื่อมต่อภายนอก

แม่แบบ:Jewellery Materials

แม่แบบ:Link FA th:อำพัน