แอลฟาแอนดรอมิดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Alpheratz)
α Andromedae

แอลฟาแอนดรอมิดา
ข้อมูลสังเกตการณ์
ต้นยุคอ้างอิง J2000.0 (ICRS)      วิษุวัต J2000.0
กลุ่มดาว กลุ่มดาวแอนดรอมิดา
ไรต์แอสเซนชัน 00h 08m 23.25988s[1]
เดคลิเนชัน +29° 05′ 25.5520″[1]
ความส่องสว่างปรากฏ (V) 2.06 (2.22 + 4.21)[2]
คุณสมบัติ
ดัชนีสี U-B−0.46[3]
ดัชนีสี B-V−0.11[3]
ดัชนีสี R-I−0.10[3]
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมB8IVpMnHg[4]
คุณสมบัติ
ชนิดสเปกตรัมA3V[4]
มาตรดาราศาสตร์
ความเร็วแนวเล็ง (Rv)−10.6 ± 0.3[5] km/s
การเคลื่อนที่เฉพาะ (μ) RA: 135.68[6] mas/yr
Dec.: −162.95[6] mas/yr
พารัลแลกซ์ (π)33.62 ± 0.35[1] mas
ระยะทาง97 ± 1 ly
(29.7 ± 0.3 pc)
ความส่องสว่างสัมบูรณ์ (MV)−0.19 ± 0.30[7]
วงโคจร[2]
คาบการโคจร (P)96.7015 ± 0.0044 days
ค่ากึ่งแกนเอก (a)24.0 ± 0.13 mas
ความเยื้องศูนย์กลาง (e)0.535 ± 0.0046
ความเอียง (i)105.6 ± 0.23°
ลองจิจูดของจุดโหนด (Ω)284.4 ± 0.21°
ต้นยุคอ้างอิงจุดใกล้ที่สุด (T)MJD 47374.563 ± 0.095
มุมของจุดใกล้ที่สุด (ω)
(secondary)
257.4 ± 0.31°
รายละเอียด
Primary
มวล3.8 ± 0.2[8] M
รัศมี2.7 ± 0.4[8] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)3.75[8]
กำลังส่องสว่าง (bolometric)240[8] L
อุณหภูมิ13,800[8] K
ค่าความเป็นโลหะ[M/H] = 0.2
การหมุนตัว2.38195 d[9]
ความเร็วในการหมุนตัว (v sin i)52 km/s
Secondary
มวล1.85 ± 0.13[8] M
รัศมี1.65 ± 0.3[8] R
แรงโน้มถ่วงที่พื้นผิว (log g)4.0[8]
กำลังส่องสว่าง (bolometric)13[8] L
อุณหภูมิ8,500[8] K
ค่าความเป็นโลหะ[M/H] = 0.2
ความเร็วในการหมุน (v sin i)110 ± 5 km/s
ชื่ออื่น
Alpheratz, Sirrah, Sirah, α And, Alpha Andromedae, Alpha And, δ Pegasi, δ Peg, Delta Pegasi, Delta Peg, 21 Andromedae, 21 And, H 5 32A, MKT 11, ADS 94 A, BD+28°4, CCDM J00083+2905A, FK5 1, GC 127, HD 358, HIP 677, HR 15, IDS 00032+2832 A, LTT 10039, NLTT 346, PPM 89441, SAO 73765, WDS 00084+2905A/Aa[6][10][11]
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น
SIMBADdata

แอลฟาแอนดรอมิดา (Alpha Andromedae, α Andromedae, ย่อว่า Alpha And หรือ α And) เป็นดาวฤกษ์ที่ห่างจากดวงอาทิตย์ 97 ปีแสง และเป็นดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาวแอนดรอมิดา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกลุ่มดาวม้าบิน และเป็นดาวด้านซ้ายบนของสี่เหลี่ยมใหญ่ม้าบิน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 Van Leeuwen, F. (2007). "Validation of the new Hipparcos reduction". Astronomy and Astrophysics. 474 (2): 653. arXiv:0708.1752. Bibcode:2007A&A...474..653V. doi:10.1051/0004-6361:20078357.
  2. 2.0 2.1 Entry, WDS identifier 00084+2905, Sixth Catalog of Orbits of Visual Binary Stars เก็บถาวร 2017-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, William I. Hartkopf & Brian D. Mason, U.S. Naval Observatory. Accessed on line August 12, 2008.
  3. 3.0 3.1 3.2 Hoffleit, D.; Warren, W. H. Jr. "HR 15". The Bright Star Catalogue (5th Revised ed.). VizieR. and Hoffleit, D.; Warren, W. H. Jr. "Detailed Description of V/50". The Bright Star Catalogue (5th Revised ed.). Centre de Données astronomiques de Strasbourg.
  4. 4.0 4.1 Tomkin, J.; Pan, X.; McCarthy, J. K. (1995). "Spectroscopic detection of the secondaries of the Hyades interferometric spectroscopic binary theta2 Tauri and of the interferometric spectroscopic binary alpha Andromedae". Astronomical Journal. 109: 780. Bibcode:1995AJ....109..780T. doi:10.1086/117321.
  5. Value is for the center of mass of the system.
  6. 6.0 6.1 6.2 "* alf And". SIMBAD. Centre de données astronomiques de Strasbourg. สืบค้นเมื่อ August 12, 2008.
  7. Ryabchikova, T. A.; Malanushenko, V. P.; Adelman, S. J. (1999). "Orbital elements and abundance analyses of the double-lined spectroscopic binary alpha Andromedae". Astronomy and Astrophysics. 351: 963. Bibcode:1999A&A...351..963R.
  8. 8.00 8.01 8.02 8.03 8.04 8.05 8.06 8.07 8.08 8.09 Ryabchikova, T.; Malanushenko, V.; Adelman, S. J. (1998). "The double-lined spectroscopic binary alpha Andromedae: Orbital elements and elemental abundances". Contributions of the Astronomical Observatory Skalnate Pleso. 27: 356. arXiv:astro-ph/9805205. Bibcode:1998CoSka..27..356R.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ sciphys
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ usno
  11. Entry 00084+2905, discoverer code MKT  11, components Aa, The Washington Double Star Catalog, United States Naval Observatory. Accessed on line August 15, 2017.