เบอดุก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบอดุก
เครื่องกระทบ
ชื่ออื่นBeduk, Bedhug
ประเภท กลอง
Hornbostel–Sachs classification211.212.1
(กลองทรงกระบอก)
คิดค้นเมื่อประเทศอินโดนีเซีย

เบอดุก (อินโดนีเซีย: beduk; ชวา: bedhug) เป็นหนึ่งในกลองที่ใช้ในกาเมอลัน มันถูกใช้โดยมุสลิมในเกาะชวาสำหรับพิธีกรรมทางศาสนา[1][2]

ภาพรวม[แก้]

โมเดลของมัสยิดซุนดาที่มี เบอดุก แขวนแบบแนวตั้งอยู่ด้านล่างขวา บริเวณส่วนหน้าของสิ่งก่อสร้าง ด้านซ้ายคือกลองแยกที่แขวนแบบแนวตั้ง

เบอดุก เป็นกลองสองหน้าขนาดใหญ่[1] ที่ผูกด้วยหนังควายทั้งสองหน้า[2]

การใช้งาน[แก้]

เบอดุก ไม่ค่อยถูกใช้ในการแสดงกาเมอลัน แต่ถูกใช้ในวงดนตรีพิเศษ เช่น กาเมอลันเซอกาเติน ซึ่งใช้ในส่วนของ เกิมปุล[3] บางครั้งอาจเล่นพร้อมกับ เกินดัง ในการเต้นรำ

เบอดุก ส่วนใหญ่ถูกใช้ในมัสยิดที่เกาะชวาโดยชาวชวากับชาวซุนดาเพื่อทำการ อะซาน เป็นสัญญาณของการละหมาด[4] หรือในช่วงเทศกาลของศาสนาอิสลาม[1] ตัวอย่างเช่น เสียง เบอดุก ถูกใช้เป็นสัญญาณสิ้นสุดการถือศีลอด และบางครั้งถูกใช้เป็นสัญญาณในเวลาซะฮูรในช่วงเราะมะฎอน[5] เมื่อใช้ส่งสัญญาณเวลาละหมาดวันศุกร์ จะมีการตี เบอดุก ต่างจากเวลาละหมาดอื่น ๆ[2]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 Rasmussen, Anne K. (2010). Women, the Recited Qur'an, and Islamic Music in Indonesia. University of California Press. ISBN 978-0-520-25549-4.
  2. 2.0 2.1 2.2 Muhaimin, Abdul Ghoffir (2006). The Islamic traditions of Cirebon: ibadat and adat among Javanese Muslims. ANU E Press. ISBN 978-1-920942-30-4.
  3. Lindsay, Jennifer. Javanese Gamelan. Oxford: Oxford UP, 1979. ISBN 0-19-580413-9. Page 47.
  4. George, Kenneth M. (2010). Picturing Islam: Art and Ethics in a Muslim Lifeworld. John Wiley and Sons. p. 77. ISBN 978-1-4051-2957-2.
  5. Ramadan and Lebaran in Indonesia

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]