สโมสรฟุตบอลอยุธยา ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อยุธยา ยูไนเต็ด
ฤดูกาล 2559
ประธานสโมสรนิรันดร์ วนิชวรพงศ์ ไทย
ผู้ฝึกสอนราชัน สาระคำ ไทย
(ถึงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
อภิรักษ์ ศรีอรุณ ไทย
(ตั้งแต่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
สนามสนามกีฬาเสนาบดี
อำเภอเสนา พระนครศรีอยุธยา
ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2
(โซนภาคกลาง)
อันดับที่ 4
ช้าง เอฟเอคัพตกรอบเพลย์ออฟ
โตโยต้า ลีกคัพตกรอบ 64 ทีม
ผู้ทำประตูสูงสุดลีก: โทโมฮิโระ โอโนะเดะระ ญี่ปุ่น (4)
ทั้งหมด: โทโมฮิโระ โอโนะเดะระ ญี่ปุ่น (4)
สีชุดเหย้า
สีชุดเยือน

ฤดูกาล 2559 เป็นฤดูกาลแรกของ สโมสรฟุตบอลอยุธยา ยูไนเต็ด ในระบบฟุตบอลลีกอาชีพของประเทศไทย หลังจากที่ก่อนหน้านี้เคยลงแข่งขันระดับสมัครเล่นในฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภทต่างๆ ภายใต้ชื่อ เทศบาลเมืองเสนา

โดยสโมสรเริ่มลงแข่งขันอย่างเป็นทางการนัดแรกของฤดูกาลเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2559 ในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 (โซนภาคกลาง) และมีโอกาสลงแข่งขันในฟุตบอลถ้วยอย่างช้าง เอฟเอ คัพและโตโยต้า ลีกคัพเป็นครั้งแรก

สโมสรใช้สนามกีฬาเสนาบดีเป็นสนามเหย้า และเปิดฤดูกาลภายใต้การคุมทีมของราชัน สาระคำ ก่อนจะเปลี่ยนเป็นอภิรักษ์ ศรีอรุณ ในเดือนพฤษภาคม โดยเมื่อจบฤดูกาลสโมสรสามารถคว้าอันดับที่ 4 ในลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 โซนภาคกลางได้สำเร็จ และได้เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3

ก่อนเริ่มฤดูกาล[แก้]

ในการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ข. ประจำปี 2558 เพื่อที่จะหา 2 สโมสรเลื่อนชั้นขึ้นสู่ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 สโมสร เทศบาลเมืองเสนา สามารถเข้าถึงรอบรองชนะเลิศไปพบกับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร ก่อนจะแพ้ไปในที่สุด แต่ก็ยังได้สิทธิเลื่อนชั้นขึ้นสู่ลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2เนื่องจาก โรงเรียนจ่าอากาศ และ สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนปากช่อง ที่เป็นคู่แข่งขันในรอบรองชนะเลิศอีกคู่ ถูกปรับตกรอบทั้งสองทีมเนื่องจากใช้ผู้เล่นผิดคุณสมบัติในการลงแข่งขัน ทำให้สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาครที่ชนะเทศบาลเมืองเสนาในรอบรองชนะเลิศได้แชมป์ไปโดยอัติโนมัติ และทำให้ เทศบาลเมืองเสนา ที่แพ้ในรอบรองชนะเลิศ ได้สิทธิเลื่อนชั้นไปอีกหนึ่งทีม[1]

หลังจากได้เลื่อนชั้นสู่ลีกอาชีพของประเทศไทยเป็นครั้งแรก สโมสรได้จดทะเบียนนิติบุคคลดำเนินธุรกิจในรูปแบบบริษัทจำกัด ในชื่อ บริษัท อยุธยา ยูไนเต็ด (2015) จำกัด และเปลี่ยนชื่อสโมสรเป็นอยุธยา ยูไนเต็ด เพื่อลงแข่งขันในลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2

โดยในการแข่งขันลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2 สโมสรถูกจัดให้อยู่ในโซนภาคกลาง และยังคงใช้ผู้ฝึกสอนคนเดิมคือ ราชัน สาระคำ ที่พาสโมสรเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในลีกอาชีพเป็นครั้งแรก และใช้สนามกีฬาเสนาบดี ตั้งอยู่ที่อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นสนามเหย้า

สำหรับผู้เล่นที่ย้ายมาร่วมทีมในฤดูกาลนี้ ที่น่าสนใจได้แก่การคว้าตัว รุ่งโรจน์ สว่างศรี อดีตกองหลังทีมชาติไทย และ อนนท์ บุญสุโข กองกลางประสบการณ์สูง มาร่วมทีม รวมถึงการเซ็นสัญญากับ ศุภกร รามกุหลาบสุข อดีตกองหน้าของสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นฤดูกาล 2559[แก้]

หมายเลข ชื่อ สัญชาติ ตำแหน่ง วันเกิด ย้ายมาจาก
ผู้รักษาประตู
18 ณัฐวุฒิ แสงดารา ไทย GK 11 มิถุนายน ค.ศ. 1988 (อายุ 28 ปี) สงขลา ยูไนเต็ด
26 สิทธิชัย กลยนีย์ ไทย GK 11 เมษายน ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) ปลวกแดง ระยอง ยูไนเต็ด
38 คีรินทร์ พุฒิมงคลเจริญ ไทย GK 21 มิถุนายน ค.ศ. 1993 (อายุ 23 ปี) -
กองหลัง
2 ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ ไทย DF 28 มีนาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 28 ปี) มาแชร์ ชัยภูมิ
3 ธีระพงษ์ แก้วนาง ไทย DF แพร่ ยูไนเต็ด
4 ประกิต เพ็ญศรี (c) ไทย DF 26 มกราคม ค.ศ. 1985 (อายุ 31 ปี) สมุทรสงคราม เอฟซี
5 วันเฉลิม ฉอ้อนโฉม ไทย DF ทีโอที
6 ครรชิต ปทุมสูตร ไทย DF 5 กันยายน ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) -
14 ธีรวัฒน์ คำเสียง ไทย DF -
15 อวูนี บาบา กานา DF สมุทรปราการ สองสิงห์
24 พงศกร ประจิมนอก ไทย DF -
25 ณัฐนันท์ หวังธรรมสถิตย์ ไทย DF -
27 กฤษดา ปิสสา ไทย DF 27 มิถุนายน ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) อุดรธานี เอฟซี
32 จักรกริช เข็มนาค ไทย DF 22 มีนาคม ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) เลย ซิตี้
36 อนุรัตน์ วงศ์อนันต์ ไทย DF -
40 เทิดศักดิ์ พุ่มโพธิ์ ไทย DF -
- นราธร ถูกอารมย์ ไทย DF -
กองกลาง
7 ศตวรรษ มั่นประสิทธิ์ ไทย MF ลพบุรี เอฟซี
8 อานนท์ เมฆฉาย ไทย MF -
10 ปรัชญา หอมเชย ไทย MF ทวีวัฒนา เอฟซี
11 วัชระ ฤทธิ์กำลัง ไทย MF มาแชร์ ชัยภูมิ
16 กมล บุญเทพ ไทย MF นครนายก เอฟซี
17 สิทธิโชค บุตรราช ไทย MF มาแชร์ ชัยภูมิ
19 กฤษณะ จำปาเรือง ไทย MF สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด
21 อมรเดช กิตติพรประชา ไทย MF 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996 (อายุ 20 ปี) โกลเบล็ก เอฟซี
22 สามารถ โพธิ์มี ไทย MF 25 ตุลาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 25 ปี) -
34 ณัญธวัช แก้วกลาง ไทย MF เกร็กคู ลูกทัพฟ้า
กองหน้า
20 ณัฐกิตติ์ มีโฉมยา ไทย FW บางกอก เอฟซี
28 ประเสริฐ หาดเจียง ไทย FW 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 (อายุ 28 ปี) กบินทร์ ยูไนเต็ด
29 โทโมฮิโระ โอโนะเดะระ ญี่ปุ่น FW 9 สิงหาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) อำนาจ โปลี ยูไนเต็ด
30 บาโล ลาจี เซียกา โกตดิวัวร์ FW เพชรบุรี เอฟซี
37 บาดารา อาลี ดิย็อป กินี FW 25 เมษายน ค.ศ. 1995 (อายุ 21 ปี) ธนบุรี ซิตี้
ผู้เล่นที่ย้ายออกระหว่างฤดูกาล
6 รุ่งโรจน์ สว่างศรี ไทย DF 1 สิงหาคม ค.ศ. 1981 (อายุ 34 ปี) แอร์ฟอร์ซ เซ็นทรัล
7 อนนท์ บุญสุโข ไทย MF 1 เมษายน ค.ศ. 1978 (อายุ 38 ปี)
13 พีระพล วัฒนจินดา ไทย MF 24 มีนาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) ทหารบก เอฟซี
23 ศุภกร รามกุหลาบสุข ไทย FW 19 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 26 ปี) อาร์มี่ ยูไนเต็ด
27 อดิสรณ์ กิตติพรประชา ไทย FW 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 27 ปี) สมุทรสงคราม เอฟซี
37 อีเก เอ็มบาห์ ไนจีเรีย FW 24 ตุลาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 26 ปี)

ไทย
ณัฐวุฒิ แสงดารา
กานา
อวูนี บาบา
ไทย
ประกิต เพ็ญศรี
ไทย
ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ
ไทย
จักรกฤช เข็มนาค
ไทย
ปรัชญา หอมเชย
ไทย
กฤษณะ จำปาเรือง
ไทย
สิทธิโชค บุตรราช
ไทย
สามารถ โพธิ์มี
กินี
บาดารา อาลี
ดิย็อป
ญี่ปุ่น
โทโมฮิโระ
โอโนเดระ
11 ผู้เล่นตัวจริง

ผู้เล่นย้ายเข้า (ก่อนเริ่มฤดูกาล)[แก้]

ผู้เล่นย้ายออก (ก่อนเริ่มฤดูกาล)[แก้]

  • อั้ม หมายชัย (ยกเลิกสัญญาก่อนเริ่มฤดูกาล)

ผู้เล่นย้ายเข้า (เลก 2)[แก้]

ผู้เล่นย้ายออก (เลก 2)[แก้]

  • รุ่งโรจน์ สว่างศรี (เลิกเล่น)
  • อนนท์ บุญสุโข (นครสวรรค์ เอฟซี)
  • อีเก้ เอ็มบาห์ (ปล่อยตัว)
  • อี แต ซึง (ปล่อยตัว)
  • คาน ยอง แจ (ปล่อยตัว)
  • วิวัฒน์ แซ่ซ้ง (ปล่อยตัว)
  • สุภัทร์ วงษ์จินดา (ปล่อยตัว)
  • ภุชงค์ เทียนเจริญ (ปล่อยตัว)
  • จักรพันธ์ เป้าศาสตร์ (นครสวรรค์ เอฟซี)
  • ส.ต.พีระพล วัฒนจินดา (ปล่อยตัว)
  • ศุภกร รามกุหลาบสุข (ปล่อยตัว)
  • ณัชพล สุจิตโตสกุล (นวมินทร์ คลองจั่น เอฟซี)
  • อดิสรณ์ กิตติพรประชา (ปล่อยตัว)

ชุดแข่งขันและผู้สนับสนุน[แก้]

ฤดูกาลนี้สโมสรเปลี่ยนจากชุดของแกรนด์สปอร์ต มาใช้ชุดที่ผลิตโดยอีโก้ สปอร์ต และมีผู้สนับสนุนหลักบนอกเสื้อคือน้ำดื่มตรารีเจนซี่ และปั๊มน้ำมัน ปตท. (เสนา) นอกจากนี้ยังมีผู้สนับสนุนรายอื่นๆเช่น คลองสวนพลู รีสอร์ต (แขนเสื้อขวา) , อยุธยา อีซุสุ เซลส์ (แขนเสื้อซ้าย) , บ้านแพนแทรคเตอร์ , โรงแรมกรุงศรี ริเวอร์ , บริษัท สแปน จำกัด (ชายเสื้อด้านหลัง)

การแข่งขัน[แก้]

นัดอุ่นเครื่องและกระชับมิตร[แก้]

วันที่ คู่แข่ง สนาม
(เหย้า/เยือน)
ผล ผู้ทำประตู สนาม
17 ธ.ค.58 อ่างทอง เอฟซี (ชุด U-19) เหย้า 3–0 สนามกีฬาเสนาบดี
24 ธ.ค.58 สิงห์บุรี บางระจัน เหย้า 2–1 สนามกีฬาเสนาบดี
16 ม.ค.59 พีทียู ปทุมธานี ซีคเคอร์ เหย้า 1–0 สนามกีฬาเสนาบดี
23 ม.ค.59 สีหมอก เอฟซี เหย้า 0–0 สนามกีฬาเสนาบดี
30 ม.ค.59 ทหารบก เอฟซี เหย้า 0–0 สนามกีฬาเสนาบดี
10 ก.พ.59 อบจ.นนทบุรี เหย้า 4–0 ณัฐกิตต์ มีโฉมยา
อี แตซึง
ผู้เล่นที่มาทดสอบฝีเท้า (2)
สนามกีฬาเสนาบดี
25 ก.พ.59 พัทยา ซิตี้ เหย้า 3–1 สามารถ โพธิ์มี
อีเก เอ็มบาห์
อีเก เอ็มบาห์
สนามกีฬาเสนาบดี
3 มี.ค.59 นนทบุรี เอฟซี เหย้า 2–0 จักรพันธ์ เป้าศาสตร์
จักรพันธ์ เป้าศาสตร์
สนามกีฬาเสนาบดี
20 เม.ย.59 แอร์ฟอร์ซ โรบินสัน เหย้า 2–2 อีเก เอ็มบาห์
จักรพันธ์ เป้าศาสตร์
สนามกีฬาเสนาบดี
28 มิ.ย.59 สมุทรสาคร เอฟซี เยือน 3–4 สามารถ โพธิ์มี
โทะโมะฮิโระ โอโนะเดะระ
บาดารา อาลี ดิย็อป
กมล บุญเทพ
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร

ดิวิชั่น 2 โซนภาคกลาง[แก้]

สโมสรลงแข่งขันในลีกเป็นนัดแรกเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559 ในนัดที่บุกไปชนะนครสวรรค์ เอฟซี 0–1 จากลูกโหม่งของรุ่งโรจน์ สว่างศรี โดยถือเป็นประตูแรกที่สโมสรยิงได้ในระดับลีกอาชีพ

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ
สโมสร
แข่ง
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ผลต่าง
คะแนน
ได้รับคัดเลือก หรือ ตกชั้น
1 อยุธยา วอริเออร์(Q) 20 14 4 2 38 17 +21 46 รอบแชมเปียนส์ลีกและเลื่อนชั้นไปสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2560
3 อยุธยา เอฟซี(Q) 20 13 3 4 27 11 +16 42
2 สิงห์บุรี บางระจัน เอฟซี 20 13 2 5 40 22 +18 41 เลื่อนชั้นไปสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2560
4 อยุธยา ยูไนเต็ด 20 8 7 5 19 15 +4 31
5 ปากน้ำโพ เอ็นเอสอาร์ยู 20 8 4 8 20 17 +3 28
6 นครสวรรค์ เอฟซี 20 5 9 6 16 21 −5 24
7 พีทียู ปทุมธานี เอฟซี 20 6 5 9 17 24 −7 23
8 สระบุรี ทีอาร์ยู 20 5 5 10 19 24 −5 20
9 มาแชร์ ชัยภูมิ เอฟซี 20 3 7 10 13 26 −13 16
10 พานทอง เอฟซี 20 3 6 11 13 27 −14 15
11 อุทัยธานี เอฟซี(R) 20 2 8 10 11 31 −20 14 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2560

อัปเดตล่าสุด 3 กันยายน 2559
แหล่งข้อมูล: ดิวิชั่น 2
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) คะแนนในการพบกัน (head-to-head; 3) ผลต่างประตูในการพบกัน; 4) ประตูได้ในการพบกัน; 5) ผลต่างประตู; 6) จำนวนประตูได้
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์
Head-to-Head: used when head-to-head record is used to rank tied teams.

ผลงานโดยรวม[แก้]

ผลงานโดยรวม เหย้า เยือน
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง
20 8 7 5 19 15 +4 31 5 5 0 10 4 +6 3 2 5 9 11 −2

ผลงานและอันดับในแต่ละนัด[แก้]

นัดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
สนาม A H A H A H H A H A H A H A H A A H A H
ผล W D D D L D W W D L W W W L D L D W L W
อันดับที่ 4 6 5 5 6 5 5 4 6 6 4 4 4 4 4 4 5 4 4 4

Last updated: 9 มิถุนายน 2561.
อ้างอิง: Competitive matches
สนาม: A = เยือน; H = เหย้า ผล: D = เสมอ; L = แพ้; W = ชนะ; P = เลื่อนการแข่งขัน

ผลการแข่งขัน[แก้]

วันที่ คู่แข่ง เหย้า/เยือน ผล ผู้ทำประตู สนาม อันดับประจำสัปดาห์
19 มี.ค.59 นครสวรรค์ เอฟซี เยือน 0–1 รุ่งโรจน์ สว่างศรี สนามกีฬากลางจังหวัดนครสวรรค์ อันดับ 4
27 มี.ค.59 พานทอง เอฟซี เหย้า 0–0 สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 6
3 เม.ย.59 อยุธยา เอฟซี เยือน 1–1 ปรัชญา หอมเชย สนามกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนย์หันตรา
อันดับ 5
24 เม.ย.59 ปากน้ำโพ เอ็นเอสอาร์ยู เหย้า 1–1 ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 5
1 พ.ค.59 สระบุรี ทีอาร์ยู เยือน 1–0 สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี อันดับ 6
8 พ.ค.59 สิงห์บุรี บางระจัน เหย้า 1–1 สิทธิโชค บุตรราช สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 5
25 พ.ค.59 อุทัยธานี ฟอเรสท์ เหย้า 1–0 วัชระ ฤทธิ์กำลัง สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 5
28 พ.ค.59 มาแชร์ ชัยภูมิ เยือน 1–2 อี แต ซึง
สิทธิโชค บุตรราช
สนามกีฬากลางจังหวัดชัยภูมิ อันดับ 4
4 มิ.ย.59 อยุธยา วอริเออร์ เหย้า 1–1 สิทธิโชค บุตรราช สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 6
11 มิ.ย.59 พีทียู ปทุมธานี เยือน 1–0 สนามกีฬา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ อันดับ 6
25 มิ.ย.59 นครสวรรค์ เอฟซี เหย้า 1–0 โทะโมะฮิโระ โอโนะเดะระ สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 4
3 ก.ค.59 พานทอง เอฟซี เยือน 1–3 ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ
โทะโมะฮิโระ โอะโนะเดะระ
โทะโมะฮิโระ โอะโนะเดะระ
สนามสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี อันดับ 4
10 ก.ค.59 อยุธยา เอฟซี เหย้า 1–0 โทะโมะฮิโระ โอะโนะเดะระ สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 4
17 ก.ค.59 ปากน้ำโพ เอ็นเอสอาร์ยู เยือน 1–0 สนามโรงเรียนกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ อันดับ 4
24 ก.ค.59 สระบุรี ทีอาร์ยู เหย้า 1–1 อวูนี บาบา สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 4
31 ก.ค.59 สิงห์บุรี บางระจัน เยือน 1–0 สนามกีฬาจังหวัดสิงห์บุรี อันดับ 4
7 ส.ค.59 อุทัยธานี ฟอเรสท์ เยือน 1–1 อวูนี บาบา สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี อันดับ 5
20 ส.ค.59 มาแชร์ ชัยภูมิ เหย้า 1–0 บาดารา อาลี ดิย็อป สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 4
27 ส.ค.59 อยุธยา วอริเออร์ เยือน 3–1 อมรเดช กิตติพรประชา สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อันดับ 4
3 ก.ย.59 พีทียู ปทุมธานี เหย้า 2–0 สามารถ โพธิ์มี
บาดารา อาลี ดิย็อป
สนามกีฬาเสนาบดี อันดับ 4

เอฟเอ คัพ[แก้]

วันที่ คู่แข่ง รอบ ผล ผู้ทำประตู สนาม
18 พ.ค.59 พีทีที ระยอง เพลย์ออฟ 4–0 สนามกีฬาพีทีที สเตเดียม

ลีกคัพ[แก้]

วันที่ คู่แข่ง รอบ ผล ผู้ทำประตู สนาม
23 มี.ค.59 สระบุรี ทีอาร์ยู เพลย์ออฟ 2–1 สามารถ โพธิ์มี Goal 73'
จักรพันธ์ เป้าศาสตร์ Goal 90+3'
สนามกีฬาเสนาบดี
10 เม.ย.59 สุพรรณบุรี เอฟซี 64 ทีมสุดท้าย 0–1 สนามกีฬาเสนาบดี

สถิติการลงสนามและการทำประตูของผู้เล่น[แก้]

หมายเลขเสื้อ ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น ทั้งหมด ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 เอฟเอ คัพ ลีก คัพ
ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู
ผู้รักษาประตู
18 GK ไทย ณัฐวุฒิ แสงดารา 22 0 20 0 1 0 1 0
26 GK ไทย สิทธิชัย กลยนีย์ 1 0 0 0 0 0 1 0
38 GK ไทย คีรินทร์ พุฒิมงคลเจริญ 0 0 0 0 0 0 0 0
กองหลัง
2 DF ไทย ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ 22 2 20 2 1 0 1 0
3 DF ไทย ธีระพงษ์ แก้วนาง 4 0 4 0 0 0 0 0
4 DF ไทย ประกิต เพ็ญศรี 18 0 16 0 1 0 1 0
5 DF ไทย วันเฉลิม ฉอ้อนโฉม 3 0 2 0 0 0 1 0
6 DF ไทย ครรชิต ปทุมสูตร 0 0 0 0 0 0 0 0
14 DF ไทย ธีรวัฒน์ คำเสียง 7 0 6 0 0 0 1 0
15 DF กานา อวูนี บาบา 21 2 19 2 1 0 1 0
24 DF ไทย พงศกร ประจิมนอก 0 0 0 0 0 0 0 0
25 DF ไทย ณัฐนันท์ หวังธรรมสถิต 0 0 0 0 0 0 0 0
27 DF ไทย กฤษดา ปิสสา 5 0 5 0 0 0 0 0
32 DF ไทย จักกริช เข็มนาค 7 0 7 0 0 0 0 0
36 DF ไทย อนุรัตน์ วงศ์อนันต์ 2 0 2 0 0 0 0 0
40 DF ไทย เทิดศักดิ์ พุ่มโพธิ์ 3 0 1 0 1 0 1 0
- DF ไทย นราธร ถูกอารมย์ 0 0 0 0 0 0 0 0
กองกลาง
7 MF ไทย ศตวรรษ มั่นประสิทธิ์ 7 0 7 0 0 0 0 0
8 MF ไทย อานนท์ เมฆฉาย 12 0 10 0 1 0 1 0
10 MF ไทย ปรัชญา หอมเชย 18 1 16 1 1 0 1 0
11 MF ไทย วัชระ ฤทธิ์กำลัง 13 1 12 1 1 0 0 0
16 MF ไทย กมล บุญเทพ 12 0 10 0 0 0 2 0
19 MF ไทย กฤษณะ จำปาเรือง 9 0 9 0 0 0 0 0
21 MF ไทย อมรเดช กิตติพรประชา 9 1 7 1 0 0 2 0
22 MF ไทย สามารถ โพธิ์มี 18 2 15 1 1 0 2 1
34 MF ไทย ณัญธวัช แก้วกลาง 1 0 1 0 0 0 0 0
กองหน้า
17 FW ไทย สิทธิโชค บุตรราช 19 3 17 3 1 0 1 0
20 FW ไทย ณัฐกิตติ์ มีโฉมยา 1 0 0 0 0 0 1 0
28 FW ไทย ประเสริฐ หาดเจียง 0 0 0 0 0 0 0 0
29 FW ญี่ปุ่น โทโมฮิโระ โอะโนะเดะระ 10 4 10 4 0 0 0 0
30 FW โกตดิวัวร์ บาโล ลาจี เซียกา 10 0 10 0 0 0 0 0
37 FW กินี บาดารา อาลี ดิย็อป 10 2 10 2 0 0 0 0
ผู้เล่นที่ย้ายออกระหว่างฤดูกาล
6 DF ไทย รุ่งโรจน์ สว่างศรี 5 1 4 1 0 0 1 0
7 MF ไทย อนนท์ บุญสุโข 9 0 6 0 1 0 2 0
9 MF ไทย จักรพันธ์ เป้าศาสตร์ 8 1 6 0 0 0 2 1
13 MF ไทย พีระพล วัฒนจินดา 3 0 3 0 0 0 0 0
19 MF ไทย วิวัฒน์ แซ่ซ้ง 2 0 1 0 0 0 1 0
23 FW ไทย ศุภกร รามกุหลาบสุข 6 0 5 0 1 0 0 0
27 DF ไทย อดิสรณ์ กิตติพรประชา 3 0 2 0 0 0 1 0
29 MF เกาหลีใต้ อี แต ซึง 8 1 5 1 1 0 2 0
31 FW ไทย ณัชพล สุจิตโตสกุล 1 0 0 0 0 0 1 0
37 FW ไนจีเรีย อีเก เอ็มบาห์ 4 0 4 0 0 0 0 0
- GK ไทย สุภัทร์ วงษ์จินดา 0 0 0 0 0 0 0 0
- DF ไทย ภุชงค์ เทียนเจริญ 0 0 0 0 0 0 0 0
- FW เกาหลีใต้ คาน ยอง แจ 0 0 0 0 0 0 0 0

ข้อมูลล่าสุด: 3 กันยายน 2559
อ้างอิง: Competitions

อันดับการทำประตูของผู้เล่น[แก้]

อันดับ หมายเลข ตำแหน่ง สัญชาติ ชื่อ ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2 เอฟเอ คัพ ลีกคัพ รวม
1 29 FW ญี่ปุ่น โทโมฮิโระ โอะโนะเดะระ 4 0 0 4
2 17 FW ไทย สิทธิโชค บุตรราช 3 0 0 3
3 2 DF ไทย ชัยวิชิต สวนชัยภูมิ 2 0 0 2
15 DF กานา อวูนี บาบา 2 0 0 2
22 MF ไทย สามารถ โพธิ์มี 1 0 1 2
37 FW กินี บาดารา อาลี ดิย็อป 2 0 0 2
7 6 DF ไทย รุ่งโรจน์ สว่างศรี 1 0 0 1
9 MF ไทย จักรพันธ์ เป้าศาสตร์ 0 0 1 1
10 MF ไทย ปรัชญา หอมเชย 1 0 0 1
11 MF ไทย วัชระ ฤทธิ์กำลัง 1 0 0 1
21 MF ไทย อมรเดช กิตติพรประชา 1 0 0 1
29 MF เกาหลีใต้ อี แต ซึง 1 0 0 1
รวม 19 0 2 21

ข้อมูลล่าสุด: 3 กันยายน 2559

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-13. สืบค้นเมื่อ 2016-03-26.