สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติ
กีฬายิงปืนรณยุทธ
ประเภทกีฬายิงปืน
อำนาจการควบคุม นานาชาติ
Membership108 ภูมิภาค[1]
ตัวย่อIPSC
วันที่ก่อตั้ง24 พฤษภาคม ค.ศ. 1976 (1976-05-24)
สำนักงานใหญ่อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
ประธานVitaly Kryuchin[2]
(2018–ปัจจุบัน)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
ipsc.org
เป้ายิงแบบคลาสสิคของสมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติ

สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติ (อังกฤษ: International Practical Shooting Confederation; อักษรย่อ: IPSC) เป็นองค์กรกีฬายิงปืนที่อิงรูปแบบมาจากยิงปืนรณยุทธ ซึ่งความแม่นยำ, พลัง และความเร็ว ล้วนเป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ้น ต่อความสำเร็จในการทำคะแนนสูงสุด

การก่อตั้งและองค์กร[แก้]

สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติได้รับการก่อตั้งขึ้น ณ การประชุมที่จัดขึ้นในโคลัมเบีย รัฐมิสซูรี ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1976 ซึ่งมีผู้ที่ชื่นชอบยิงปืนรณยุทธจากทั่วโลกเข้าร่วมการประชุม โดยมีการสร้างระเบียบปฏิบัติรวมถึงสร้างกฎเกณฑ์สำหรับกีฬานี้ขึ้น[3][4] โดยมี เจฟฟ์ คูเปอร์ เข้าทำหน้าที่เป็นประธานสมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติคนแรก

ในขณะที่สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติเป็นองค์กรระหว่างประเทศ ประเทศทั้งหลายที่มีองค์กรเป็นของตนเองก็จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติ ตัวอย่างเช่น สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธสหรัฐอเมริกา (USPSA) ในสหรัฐอเมริกา และสมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธสหราชอาณาจักร (UKPSA) ในสหราชอาณาจักร

เวิลด์ชูต[แก้]

ตั้งแต่ ค.ศ. 1975 สมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติได้จัดรายการ เวิลด์ชูต ซึ่งเป็นการแข่งขันหลายวัน โดยมี 30 รูปแบบการยิงเป็นอย่างน้อย โดยมียอดนักกีฬาสมาพันธ์ยิงปืนรณยุทธนานาชาติจากทั่วโลกเข้าร่วมแข่งขันชิงแชมป์โลก ซึ่งปัจจุบันมีการจัดเวิลด์ชูตขึ้นทุกๆสามปี โดยมีรายนามผู้ชนะเวิลด์ชูตที่ผ่านมา ดังนี้:[5]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "IPSC.org :: Regions". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-02. สืบค้นเมื่อ 2022-04-28.
  2. "Minutes of the Forty-First IPSC General Assembly Chateauroux, France, Saturday, 26 August, 2017, 9:00 am" (PDF). Minutes of the Forty-First IPSC General Assembly Chateauroux, France, Saturday, August 26, 2017, 9:00 am.
  3. "Columbia Conference Minutes" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-06-13. สืบค้นเมื่อ 2012-09-24.
  4. "What Is IPSC เก็บถาวร 2002-10-19 ที่ Library of Congress Web Archives", accessed August 17, 2007.
  5. "IPSC History of Champions", accessed August 28, 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]