สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2002 ครั้งที่ 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2002 ครั้งที่ 1
วันที่18 เมษายน พ.ศ. 2545
สถานที่ตั้งเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
รางวัลมากที่สุดบางระจัน (4)
เก็บแผ่นดิน (4)
โทรทัศน์/วิทยุ
เครือข่ายสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5
รางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส · ครั้งที่ 2 →

สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2002 ครั้งที่ 1 (อังกฤษ: Star Entertainment Awards 2002) หรือรางวัลผลงานบันเทิงยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2544 คืองานจัดประกาศผลรางวัลผลงานบันเทิงยอดเยี่ยม ประจำปีพ.ศ. 2544 จัดโดย สมาคมนักข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ซึ่งปีนี้จัดงานเป็นปีแรก (ปีนี้ใช้ปีที่จัดงาน (2002) เป็นชื่องาน แต่ในครั้งต่อๆ มา จะใช้ปีที่พิจารณาผลงานเข้าชิงเป็นชื่องาน อย่างเช่น สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2003 ใช้ชื่อปี 2003 เป็นชื่องาน แต่งานจัดในปี 2004) โดยงานในปีนี้ได้จัดขึ้นที่อาคารใหม่สวนอัมพรเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2545 ณ ห้องบางกอก คอนเวนเชั่น เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว ถ่ายทอดสดทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5

สาขาเพลง[แก้]

ประเภทเพลงไทยสากล[แก้]

รางวัลแต่งคำร้องยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลแต่งทำนองยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง คนเก่งของฉัน ทํานอง พิเชษฐ์ เครือวัลย์ ขับร้องโดย หฤทัย ม่วงบุญศรี จากอัลบั้ม เดอะวอยซ์

รางวัลเรียบเรียงเสียงประสานยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง รักเธอที่สุด ผู้เรียบเรียง ทวี ศรีประดิษฐ์ ขับร้องโดย อรรถวดี จิรมณีกุล จากอัลบั้ม มิ้นท์ อรรถวดี

รางวัลนักร้องกลุ่มยอดเยี่ยม[แก้]

  • พรู จากอัลบั้ม พรู ของเบเกอรี่ มิวสิค

รางวัลนักร้องชายเดี่ยวยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลนักร้องหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลเพลงยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง รักเธอที่สุด ขับร้องโดย อรรถวดี จิรมณีกุล จากอัลบั้ม มิ้นท์ อรรถวดี ของเมกเกอร์เฮด

รางวัลเพลงยอดนิยม[แก้]

  • เพลง ฝนตกที่หน้าต่าง ขับร้องโดย โลโซ จากอัลบั้ม โลโซ ปกแดง ของมอร์มิวสิค

ประเภทเพลงไทยลูกทุ่ง[แก้]

รางวัลแต่งคำร้องยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง ตํานานบ้านเรา คําร้อง มนัส อาจสกุล ขับร้องโดย ดํารง วงศ์ทอง จากอัลบั้ม จงเก็บใจรอ

รางวัลแต่งทำนองยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลเรียบเรียงเสียงประสานยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง พ่อ ผู้เรียบเรียง นฤพล พานทอง ขับร้องโดย รุ่ง สุริยา จากอัลบั้ม รักคุณดอทคอม

รางวัลนักร้องชายยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลนักร้องหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลนักร้องชายยอดนิยม[แก้]

รางวัลนักร้องหญิงยอดนิยม[แก้]

รางวัลเพลงสร้างสรรค์ยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง วอนพ่อเลิกยา จากอัลบั้ม คุณแม่ขอร้อง บริษัท หงส์ฟ้าครีเอชั่น

รางวัลเพลงลูกทุ่งยอดเยี่ยม[แก้]

  • เพลง ตํานานบ้านเรา ขับร้องโดย ดํารง วงศ์ทอง จากอัลบั้ม จงเก็บใจรอ บริษัทชัวร์ออดิโอ

รางวัลเพลงลูกทุ่งยอดนิยม[แก้]

  • เพลง คุณลําใย ขับร้องโดย ลูกนก สุภาพร จากอัลบั้ม คุณลําใย บริษัท นพพงศ์ อินเตอร์เนชั่นแนล

สาขาภาพยนตร์ไทย[แก้]

รางวัลออกแบบฉากยอดเยี่ยม[แก้]

  • บุญถิ่น ทวยแก้ว จากภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน

รางวัลบันทึกเสียงยอดเยี่ยม[แก้]

  • ชาย คงศิลวัต และ สุนิต อัศวินิกุล จากภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน

รางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลกำกับภาพยอดเยี่ยม[แก้]

  • วิเชียร เริองวิชญกุล จากภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน

รางวัลลำดับภาพยอดเยี่ยม[แก้]

  • สุนิตย์ อัศวินิกุล และ ธานินทร์ เทียนแก้ว จากภาพยนตร์เรื่อง จัน ดารา

รางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลภาพยนตร์เกียรติยศ[แก้]

สาขาโทรทัศน์[แก้]

รางวัลผู้ประกาศข่าวหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

สาขาละครโทรทัศน์[แก้]

รางวัลเพลงประกอบละครยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลบทละครยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลผู้กำกับการแสดงละครยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลละครยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลพิเศษ[แก้]

รางวัลผู้แต่งกายยอดเยี่ยมฝ่ายหญิง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "'สายสวรรค์ ขยันยิ่ง'...ขยันไม่หยุด ลาออกช่อง3ซบBJC". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-16. สืบค้นเมื่อ 2017-10-06.
  2. เก็บแผ่นดิน