ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2494

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2494
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494
ระบบสุดท้ายสลายตัว16 ธันวาคม พ.ศ. 2494
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อมาร์จ
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด886 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด31
พายุโซนร้อนทั้งหมด25
พายุไต้ฝุ่น16
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น1  (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด1,185 คน (รวมทั้งผู้สูญหายและผู้บาดเจ็บ)
ความเสียหายทั้งหมด106.15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 1951)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2492, 2493, 2494, 2495, 2496

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2494 เป็นช่วงฤดูที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวโดยทั่วไปน้อยกว่าค่าเฉลี่ย โดยพายุหมุนเขตร้อนหลายลูกโดดเด่นในฟิลิปปินส์ ซึ่งมีข้อยกเว้นอยู่ในช่วงเดือนมกราคม ซึ่งไม่พบการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อน และเดือนตุลาคม เป็นเดือนที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดด้วยพายุหมุนเขตร้อนสี่ลูก ในภาพรวมแล้วมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 21 ลูก ในจำนวนนั้น 17 ลูกทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อนและได้รับชื่อ ในจำนวนนั้น 16 ลูกทวีกำลังเป็นพายุไต้ฝุ่น

ฤดูกาลเริ่มต้นโดยพายุโซนร้อนช่วงชีวิตสั้นไร้ชื่อลูกหนึ่ง ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ พายุไต้ฝุ่นจอร์เจียกลายเป็นพายุลูกแรกในฤดูกาลที่ได้รับชื่อและทวีกำลังแรงเป็นพายุไต้ฝุ่นหลังจากก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกในวันที่ 20 มีนาคม ต่อมาในเดือนเมษายน พายุไต้ฝุ่นไอริสพัฒนาเป็นพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นในเดือนนั้น ไอริสถูกบันทึกเป็นกรณีตัวอย่างของพายุไต้ฝุ่นสมมูลระดับ 5 ในมหาสมุทรแปซิฟิก และพายุไต้ฝุ่นลูกสุดท้ายของปี คือ พายุไต้ฝุ่นแบ็บส์ ซึ่งสลายตัวลงในวันที่ 17 ธันวาคม

ขอบเขตของบทความนี้จะอยู่ภายในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณด้านเหนือของเส้นศูนย์สูตรและทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ถ้าพายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากล และด้านเหนือของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนบริเวณนั้นจะเรียกว่าพายุเฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2494 ณ เวลานั้น พายุโซนร้อนที่ก่อตัวในภูมิภาคมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จะได้รับการตั้งชื่อและวิเคราะห์โดยศูนย์สภาพอากาศกองเรือสหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งอยู่ในกวม อย่างไรก็ตาม สำนักอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งเป็นที่ยอมรับในอีกห้าปีต่อมา ได้วิเคราะห์พายุหมุนเขตร้อนเพิ่มเติมอีกสี่ลูกในช่วงฤดูกาล ที่ไม่ถูกติดตามโดยศูนย์สภาพอากาศกองเรือ ซึ่งระบบที่ถูกวิเคราะห์เหล่านี้ไม่ได้รับการตั้งชื่อ

สรุปฤดูกาล[แก้]

Saffir–Simpson hurricane wind scale

พายุ[แก้]

พายุโซนร้อนหนึ่ง (โดย JMA)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
ระยะเวลา 19 – 21 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจอร์เจีย[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 27 มีนาคม
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโฮป[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 23 เมษายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นไอริส[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 เมษายน – 13 พฤษภ่าคม
ความรุนแรง 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
909 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.84 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโจน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 13 พฤษภาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 05 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 12 – 14 พฤษภาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 06 (โดย CMA)[แก้]

พายุโซนร้อน (CMA)
ระยะเวลา 17 – 22 มิถุนายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเคท[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเจ็ด (โดย JMA)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
ระยะเวลา 30 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 10 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 22 – 24 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแปด (โดย JMA)[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
ระยะเวลา 24 – 25 กรกฎาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 11 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นลูอิซ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
904 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.7 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 13 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 4 – 6 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 14 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 5 – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนสิบ (โดย JMA)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
ระยะเวลา 9 – 19 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
989 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.21 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นมาร์จ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
886 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.16 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 22 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโนรา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 สิงหาคม – 4 กันยายน
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 19 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 4 – 6 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 20 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 8 – 8 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นออรา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 21 กันยายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแพท[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 28 กันยายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูท[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 15 ตุลาคม
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
924 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูทเข้าปะทะญี่ปุ่น ในวันที่ 15 ตุลาคม ทำให้มีผู้เสียชีวิต 1294 คน และทำลายอาคาร 34,000 หลัง

พายุไต้ฝุ่นซาราห์[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเทลมา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเวรา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแวนดา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 26 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 28 (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
ระยะเวลา 26 – 27 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอมี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 17 ธันวาคม
ความรุนแรง 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแบ็บส์[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 16 ธันวาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]