ราชอาณาจักรอิสราเอล (สหราชาธิปไตย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชอาณาจักรอิสราเอล

𐤉𐤔𐤓𐤀𐤋[1]
ป. 1047 ปีก่อนคริสตกาล–930 ปีก่อนคริสตกาล
อาณาเขตโดยสันนิษฐานของ "สิบสองเผ่าของอิสราเอล" ตามที่ระบุในหนังสือโยชูวา[a]
อาณาเขตโดยสันนิษฐานของ "สิบสองเผ่าของอิสราเอล" ตามที่ระบุในหนังสือโยชูวา[a]
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไปฮีบรู, แอราเมอิก
ศาสนา
เดมะนิมชาวอิสราเอล
การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบสืบสันตติวงศ์และเทวาธิปไตย
กษัตริย์ 
• 1047–1010 ปีก่อนคริสตกาล
ซาอูล
• 1010–1008 ปีก่อนคริสตกาล
อิชโบเชท
• 1008–970 ปีก่อนคริสตกาล
ดาวิด
• 970–931 ปีก่อนคริสตกาล
ซาโลมอน
• 931–930 ปีก่อนคริสตกาล
เรโหโบอัม
ยุคประวัติศาสตร์ยุคเหล็ก
• ซาอูลขึ้นครองราชย์
ป. 1047 ปีก่อนคริสตกาล
930 ปีก่อนคริสตกาล
ก่อนหน้า
ถัดไป
สิบสองเผ่าของอิสราเอล
ราชอาณาจักรอิสราเอล
ราชอาณาจักรยูดาห์
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ

ในประวัติศาสตร์สายเฉลยธรรมบัญญัติในคัมภีร์ฮีบรู สหราชาธิปไตย (อังกฤษ: United Monarchy) หรือ สหราชอาณาจักรอิสราเอล (อังกฤษ: United Kingdom of Israel)[7] ดำรงอยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ซาอูล อิชโบเชท (เอชบาอัล) ดาวิด และซาโลมอน ครอบคลุมอาณาเขตของสองราชอาณาจักรในสมัยต่อมาคือยูดาห์และอิสราเอล[8][9][10]

การจัดสรรแผ่นดินโดยโยชูวาให้กับเผ่าต่าง ๆ ของชาวอิสราเอลตามที่ระบุในโยชูวา 13–19

เรื่องที่สหราชาธิปไตยมีจริงหรือไม่ (และหากมีจริง จะอยู่ในช่วงสมัยใด) เป็นประเด็นที่ยังเป็นที่ถกเถียงในทางวิชาการ[11][12][13] และนักวิชาการยังคงมีความเห็นเป็นหลายฝ่ายระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ของเรื่องเล่าในคัมภีร์ไบเบิล ฝ่ายที่สงสัยหรือปฏิเสธความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ และฝ่ายที่สนับสนุนการมีอยู่ของราชอาณาจักรในทางทฤษฎีขณะที่ยังคงความเห็นว่าเรื่องเล่าในคัมภีร์ไบเบิลนั้นเกินจริง[14] ผู้สนับสนุนการคงอยู่ของราชอาณาจักรสันนิษฐานว่าราชอาณาจักรมีช่วงสมัยระหว่างราว 1047 ปีก่อนคริสตกาลและราว 930 ปีก่อนคริสตกาล

เส้นเวลาในพระคัมภีร์[แก้]

มีการเสนอเส้นเวลาหลายแบบ และไม่มีความเห็นพ้องขั้นสุดท้ายระหว่างฝ่ายต่าง ๆ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับช่วงเวลาว่าช่วงที่เริ่มต้นและสิ้นสุดนั้นเกิดขึ้นเมื่อใด[15][16][17]

นักวิชาการพระคัมภีร์ส่วนใหญ่ยึดตามเส้นเวลาเก่าของ William F. Albright กับ Edwin R. Thiele นักโบราณคดีชาวอเมริกัน หรือเส้นเวลาใหม่ของ Gershon Galil นักวิชาการชาวอิสราเอล เส้นเวลาของ Thiele โดยทั่วไปสอดคล้องกับเส้นเวลาของ Galil เพียงแต่ห่างกันมากสุดแค่ปีเดียว[18]

ปีของ Albright–Thiele ปีของ Galil ปีฮีบรู[19] กษัตริย์ หมายเหตุ
ราชวงศ์ซาอูล
ป. 1021–1000 ปีก่อน ค.ศ. ป. 1030–1010 ปีก่อน ค.ศ. ป. 3064/3094–3104 ซาอูล (ฮีบรู: שָׁאוּל; Šāʾūl) ทรงทำอัตวินิบาตกรรมในช่วงสงคราม
ป. 1000 ปีก่อน ค.ศ. ป. 1010–1008 ปีก่อน ค.ศ. ป. 3104-3106 เอชบาอัล (ฮีบรู: אֶשְׁבַּעַל; ʾEšbaʿal) พระราชโอรสในซาอูดกับอาหิโนอัม; ถูกปลงพระชนม์
ราชวงศ์ดาวิด
ป. 1000–962 ปีก่อน ค.ศ. ป. 1008–970 ปีก่อน ค.ศ. ป. 3106/3112–3145 ดาวิด (ฮีบรู: דָּוִד; Dāvīd) พระชามาดาในซาอูลกับพระเทวันในเอชบาอัล
ป. 962–922 ปีก่อน ค.ศ. ป. 970–931 ปีก่อน ค.ศ. ป. 3145–3185 ซาโลมอน (ฮีบรู: שְׁלֹמֹה; Šəlōmō) พระราชโอรสในดาวิดกับบัทเชบา
ป. 922–921 ปีก่อน ค.ศ. ป. 931–930 ปีก่อน ค.ศ. ป. 3185 เรโหโบอัม (ฮีบรู: רְחַבְעָם; Rəḥavʿām) พระราชโอรสในซาโลมอนกับนาอามาห์

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. แผนที่ของดินแดนที่จัดสรรให้กับ "สิบสองเผ่าของอิสราเอล" ตามที่ระบุในหนังสือโยชูวา บทที่ 13–19 ก่อนที่จะย้ายดานขึ้นไปทางเหนือ โปรดทราบว่าดินแดนเหล่านี้ถูกจัดสรรให้สิบสองเผ่าดังกล่าวเพียงจากข้อตกลง ในเนื้อหาของคัมภีร์ไบเบิลเองยังระบุว่าแต่เผ่าประสบปัญหาในการยึดครองพื้นที่เหล่านี้ทั้งหมดและเมืองจากคนพื้นเมือง เรื่องราวในคัมภีร์ไบเบิลอาจจะห่างไกลจากความถูกต้องทางประวัติศาสตร์และเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักวิชาการ

อ้างอิง[แก้]

    • Rollston, Chris A. (2010). Writing and Literacy in the World of Ancient Israel: Epigraphic Evidence from the Iron Age. Society of Biblical Literature. pp. 52–54. ISBN 978-1-58983-107-0.
    • Compston, Herbert F. B. (1919). The Inscription on the Stele of Méšaʿ.
  1. "Bible Gateway passage: Ezekiel 8 – New International Version". Bible Gateway.
  2. "1 Kings 11:5 Solomon followed Ashtoreth the goddess of the Sidonians and Molech the abomination of the Ammonites". biblehub.com.
  3. "2 Kings 23:13 The King also desecrated the high places east of Jerusalem, to the south of the Mount of Corruption, which King Solomon of Israel had built for Ashtoreth the abomination of the Sidonians, for Chemosh the abomination of the Moabites, and for Molech the abomination of the Ammonites". biblehub.com.
  4. "Jeremiah 11:13 Your gods are indeed as numerous as your cities, O Judah, and the altars of shame you have set up—the altars to burn incense to Baal—are as many as the streets of Jerusalem". biblehub.com.
  5. Finkelstein, Israel; Silberman, Neil Asher (2001). The Bible Unearthed: Archaeology's New Vision of Ancient Israel and the Origin of its Stories. New York: Simon & Schuster. ISBN 978-0-684-86912-4.
  6. Van der Veen, Peter (1989–90). "Early Monarchy in Israel" (PDF). Journal of the Ancient Chronology Forum. Institute for the Study of Interdisciplinary Science). 2: 72–78.[ลิงก์เสีย]
  7. Dever, Beyond the Texts: An Archaeological Portrait of Ancient Israel and Judah, SBL Press, 2017, pg. 349
  8. Harvey, Graham (1996). The True Israel: Uses of the Names Jew, Hebrew, and Israel in Ancient Jewish and Early Christian Literature. Boston: Brill Academic Publishers, Inc. p. 164. ISBN 978-0-391-04119-6.
  9. de Vaux, O.P., Roland (1997). Ancient Israel: Its Life and Institutions. แปลโดย McHugh, John. Grand Rapids, Michigan: Wm. B. Eerdmans Publishing. ISBN 978-0-8028-4278-7.
  10. Amihai Mazar, "Iron Age Chronology: A Reply to I. Finkelstein" Levant (1997), pp. 157–167
  11. Amihai Mazar, "The Debate over the Chronology of the Iron Age in the Southern Levant" in (eds. Lvy & Higman) The Bible and Radiocarbon Dating: Archaeology, Text, and Science (2005), pp. 15–30
  12. Raz Kletter, "Chronology and United Monarchy: A Methodological Review", Zeitschrift des Deutschen Palästina-Vereins (2004), pp. 13–54
  13. Mazar, Amihai (2010). "Archaeology and the Biblical Narrative: The Case of the United Monarchy". Archaeological and Biblical Perspectives: 29. For conservative approaches defining the United Monarchy as a state 'from Dan to Beer Sheba' including 'conquered kingdoms' (Ammon, Moab, Edom) and "spheres of influence" in Geshur and Hamath cf. e.g. Ahlström (1993), 455–542; Meyers (1998); Lemaire (1999); Masters (2001); Stager (2003); Rainey (2006), 159–168; Kitchen (1997); Millard (1997; 2008). For a total denial of the historicity of the United Monarchy cf., e.g. Davies (1992), 67–68; others suggested a 'chiefdom' comprising a small region around Jerusalem, cf. Knauf (1997), 81–85; Niemann (1997), 252–299 and Finkelstein (1999). For a 'middle of the road' approach, [proposing] a United Monarchy of [greater] territorial scope though smaller than the biblical description cf., e.g., Miller (1997); Halpern (2001), 229–262; Liverani (2005), 92–101. The latter recently suggested a state comprising the territories of Judah and Ephraim during the time of David, which was subsequently enlarged to include areas of northern Samaria and influence areas in Galilee and Transjordan. Na'aman (1992; 1996) once accepted the [fundamental] biography of David as authentic and later rejected the United Monarchy as a state, cf. id. (2007), 401–402.
  14. Shanks, Hershel (2010). Ancient Israel (3rd ed.). Pearson. ISBN 978-0-205-09643-5.
  15. Friedman, Richard (1987). Who Wrote The Bible. HarperOne. ISBN 978-0-06-063035-5.
  16. Bloom, Harold (2004). The Book of J. Grove Press. ISBN 978-0-8021-4191-0.
  17. Kenneth Kitchen, How We Know When Solomon Ruled: Israel's Kings, BAR September/October 2001
  18. "Israel's Kings and Prophets". Bible Timeline.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]