ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวิภพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chiangmai2499 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Group memory (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ได้ใส่ลิงก์วันเดือนปี
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ทวิภพ 2537.jpg|thumb|200px|ละครโทรทัศน์ ทวิภพ พ.ศ. 2537]]
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
| show_name = ทวิภพ
| show_name = '''ดั่งดวงหฤทัย'''
| image =
| image =
| caption =
| caption =
| format =
| format =
| genre = [[ละครย้อนยุค|ย้อนยุค]], ชีวิต, รัก
| genre = [[ละครย้อนยุค|พีเรียดลิเกฝรั่ง]], [[จินตนิยาย]]
| runtime = พ.ศ. 2537 : 105 นาที / ตอน <br> พ.ศ. 2554 : 120 นาที / ตอน
| runtime = พ.ศ. 2539 : / ตอน <br> พ.ศ. 2563 : 130 นาที / ตอน
| creator =
| creator =
| writer = '''บทประพันธ์'''<br/>ทมยันตี
| writer = '''บทประพันธ์'''<br/>ลักษณวดี
| director =
| director =
| executive_producer =
| executive_producer =
| starring = '''ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2537'''<br>[[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]]<br>[[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]]<br>'''ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2554'''<br>[[เขมนิจ จามิกรณ์]] <br> [[อรรคพันธ์ นะมาตร์]]
| starring = '''ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539'''<br>[[ศรราม เทพพิทักษ์]]<br>[[นัท มีเรีย]]<br>'''ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2563'''<br>[[เจษฎาภรณ์ ผลดี]]<br>[[คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ]]
| network = [[ช่อง 7]]
| network = '''พ.ศ. 2539'''<br>[[ช่อง 7]] <br>'''พ.ศ. 2563'''<br>[[ช่อง 3 HD]]
| producer = '''พ.ศ. 2539'''<br> [[สุรางค์ เปรมปรีดิ์]] <br>'''พ.ศ. 2563'''<br> [[ช่อง 3]] <br> [[วรายุฑ มิลินทจินดา|ฮูแอนด์ฮู]]
| first_run =
| first_run =
| first_aired =
| first_aired = พ.ศ. 2537 : 28 กุมภาพันธ์ 2537 - 24 พฤษภาคม 2537 <br> พ.ศ. 2554 : 1 สิงหาคม 2554 - 26 กันยายน 2554
| last_aired =
| last_aired =
| num_episodes = พ.ศ. 2537 : 26 ตอน <br> พ.ศ. 2554 : 17 ตอน
| num_episodes = พ.ศ. 2539 : ตอน <br> พ.ศ. 2563 : 13 ตอน
| opentheme =
| opentheme =
| endtheme =
| endtheme =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| rate = }}
| rate = }}


'''ดั่งดวงหฤทัย''' นวนิยายรักพาฝัน [[จินตนิยาย]] โรแมนติกแฟนตาซีเรื่องราวเมืองสมมติ <br>
'''ทวิภพ''' เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ[[ทมยันตี]] ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทย ใช้เวลา 2 ปี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักต่างภพ ระหว่างอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน โดยมีเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้มีอรรถรส ในการอ่านให้ดูเข้มขึ้น โดยตัวละคร มณีจันทร์ ผู้มีความรักต่อชาติบ้านเมืองและแผ่นดินสยาม บทประพันธ์ชิ้นนี้ คุณทมยันตี ได้ใส่รายละเอียดของความเป็นอยู่ของบุคคลในสมัยเก่าได้อย่างแนบเนียนยิ่ง เป็นนวนิยายรักที่แฝงไปด้วยเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองและเกร็ดความรู้ทางด้านความเป็นอยู่ของบุคคลสมัยนั้นเป็นอย่างดี ถึงแม้เยาวชนหรือวัยรุ่นอ่านก็เหมาะสม เพราะไม่ได้มีความรักที่เป็นเรื่องราวของทาง "เพศ" แต่เป็นเรื่องราวความรักที่มีความผูกพันข้ามชาติที่ดูลึกซึ้ง
เป็นบทประพันธ์ของ [[ลักษณวดี]] (นามปากกาของ [[คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์]]) ซึ่งทางผู้แต่งได้รับแรงบันดาลใจจากแต่งนิทานให้ลูกชายขณะเดินทางท่องเที่ยว ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ได้รับลิขสิทธิ์ให้นำบทประพันธ์ดังกล่าวมาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้ง มีการนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 3 ครั้งด้วยกัน

เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ[[ลักษณวดี]] ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักสุดแสนโรแมนติกชวนฝันในโลกแห่งจินตนาการ ระหว่าง '''เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์''' กับ '''เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี''' <br> โดยมีแก่นความสัมพันธ์ระหว่างแคว้น ของ 3 แคว้น คือ กาสิก, พันธุรัฐ, ทานตะ ทั้งสามแคว้นต่างมีจุดด้อยแตกต่างกัน ความหวาดระแวง คลางแคลงใจ ความเข้าใจผิด ของทั้งสามแคว้น จะนำมาซึ่งสงครามหรือไม่


== โครงเรื่อง ==
== โครงเรื่อง ==
เรื่องเริ่มจากเหตุการ์ณทางการเมืองของแคว้นสามแคว้นคือ แคว้นกาสิก แคว้นพันธุรัฐ และแคว้นทานตะ เมื่อขบวนนำส่งเสด็จเจ้าฟ้าหญิงมนิสรา แห่งทานตะซึ่งมีนิสัยอ่อนโยนและอ่อนแอ ไปสู่แคว้นกาสิกเพื่อเข้าพิธีอภิเษกกับเจ้าหลวงรังสิมันต์ แห่งกาสิก ที่คนทั่วทุกแคว้นต่างเล่าลือกันว่าเป็นคนเหียมโหด ดุร้ายยิ่งนักและในการอภิเษกครั้งนี้เป็นไปตามข้อตกลงทางการเมืองมิใช่ความรัก ทำให้เจ้าฟ้าหญิงมนิสรา หลบหนีจากขบวนเข้าไปยังชายแดนของพันธุรัฐ โดยเจ้าฟ้าธยุติธร มกุฏราชกุมารแห่งพันธุรัฐ เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ และนั้นเป็นเหตุให้เกิดข้อพิพาทระหว่างแคว้น ทำให้เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกา พระขนิษฐา ต้องเสด็จไปยังชายแดนเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาแต่ขบวนเสด็จถูกโจมตีทำให้เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกาหลงทางกับขบวน เข้าไปในป่าลึกและได้พบกับชายแปลกหน้าตั้งกองไฟกลางป่าประหนึ่งชาวบ้านหาของป่า แต่ชายผู้นั้นลึกลับยิ่งแม้จะระมัดระวังตัวนั่งอยู่ห่างแต่สุดท้ายก็โดนวางยาสลบ แม้ตื่นขึ้นมาก็ได้ทราบแน่ว่าถูกจับตัวมาโดยแคว้นกาสิกเพื่อเป็นเชลยทางการเมืองแลกเปลี่ยนตัวกับเจ้าฟ้าหญิงมนิสรา เมื่อแน่ใจเช่นนั้นเจ้าหญิงทรรศิกาทรงฟื้นขึ้นในกระโจมประทับแรมของขบวนโจรชุดดำได้พบกับกระวานสาวชาวป่าพันธุรัฐที่เก็บสมุนไพรอยู่บริเวณชายแดนที่มีคนจ้างมาเป็นนางกำนัลดูแลเจ้าหญิงคิดอุบายสลับเสื้อผ้ากับกระวานปลอมตัวเป็นสาวชาวบ้านออกไปหาสีนิลที่ถูกพวกโจรจับได้และยึดไว้ เพื่อขี่กลับพันธุรัฐแต่ชายหัวหน้าโจรรู้ทันเจ้าหญิงรีบขี่ม้าหนีแต่ไม่พ้นหัวหน้าโจรขี่ม้าตามมาจับพระองค์ขึ้นมาในอ้อมกอด เจ้าหญิงร้องขอชีวิตโดยจะยกสร้อยทับทิมที่พระบิดาพระราชทานมาให้ จนหัวหน้าโจรประกาศว่าตนคือเจ้าหลวงรังสิมันต์และเป็นคนเดียวกับที่วางยาสลบพระองค์เจ้าหญิงเห็นแหวนที่เจ้าหลวงทรงสวมก็หมดคำถาม
มณีจันทร์ (เมณี่) นางเอกของเรื่องเป็นบุตรีของเอกอัครราชทูตไทยที่ต้องไปอยู่ต่างบ้านต่างเมือง มณีจันทร์ได้ซื้อกระจกบานหนึ่งมาและต่อมาได้พบว่ากระจกบานนั้น สามารถพาเธอย้อนกลับอดีตไปในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ได้ และได้โผล่ไปที่เรือนของหลวงอัครเทพวรากร ข้าหลวงประจำกรมเจ้าท่า มณีจันทร์หายไปจากบ้านอย่างไร้ร่องรอยบ่อยครั้ง เป็นเหตุให้เพื่อนสนิทอันมีกุลวรางค์, ไรซ์ (ตรอง), ไรวัติ (หนุ่มที่มาติดพัน) ต้องเดือดร้อนตามหาตัวกัน


== คาแรคเตอร์ตัวละครหลัก ==
การปรากฏตัวของมณีจันทร์สร้างความประหลาดใจให้กับทุกคนในบ้านหลวงอัครเทพวรากรเป็นอย่างมาก แต่ด้วยความฉลาดของมณีจันทร์ ทำให้คนที่ได้พบเห็นอดที่จะรักเธอไม่ได้ มณีจันทร์เดินทางข้ามภพบ่อยครั้งขึ้น เมื่อได้ทำความคุ้นเคยกับหลวงอัครเทพวรากรและคุณหญิงแสร์ มารดาของคุณหลวงแล้ว เธอก็ยิ่งรู้สึกรักและผูกพันกับหลวงอัครเทพวรากรและคนที่บ้านหลวงอัครเทพวรากรมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ทุกคนรวมทั้งมณีจันทร์ก็ยังหาคำตอบไม่ได้ว่าทำไมเธอจึงเดินทางข้ามกาลเวลามาที่นี่ นอกเหนือจากที่จะมาพบกับเนื้อคู่ที่แท้จริงแล้ว ยังต้องมาช่วยกอบกู้สถานการณ์ของสยามซึ่งกำลังอยู่ในช่วงคับขัน เพราะทั้ง[[ฝรั่งเศส]]และ[[อังกฤษ]] ซึ่งอยู่ในยุคล่าอาณานิคม กำลังจะเอาสยามเป็นแดนกันชน และลงท้ายจะแบ่งแยกประเทศออกโดยเอา[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]เป็นเส้นปักปันเขต
'''''เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์''''' แห่งกาสิก ผู้เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ปกครองแคว้น <br> เป็นคนผิวขาวจัด ดวงเนตรดำ และ หุนหัน ปากหนัก ขี้โมโห เอาแต่ใจ
แต่แท้จริงแล้วรังสิมันต์ช่างเอาใจคนนึงเท่านั้นเอง ไม่ได้โหดร้าย ดิบเถื่อน <br>
ชายหนุ่มผู้สง่างาม และมีความเข้มแข็ง ซึ่งเป็นนักปกครอง
และเป็นชายหนุ่ม ผู้มีจิตใจดีงาม และมีความเฉลียวฉลาด ซึ่งปกครองผู้คน และตัดสินทุกสิ่ง ด้วยความยุติธรรม และมีเหตุผล


'''''เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี''''' แห่งพันธุรัฐ ผู้งดงาม ฉลาดเฉลียว อ่อนหวาน แต่เคร่งขรึมเป็นหนอนหนังสือ เป็นกวีร้องเพลงไพเราะ เก่งในเกมกีฬาเกือบทุกชนิด มีความรอบรู้วิชาการหลายด้าน สนใจเรื่องการเมืองการปกครองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ไร้เดียงสามากในเรื่องความสัมพันธ์กับเพศตรงข้าม <br>
มณีจันทร์จึงต้องใช้ความรู้ทางด้านภาษาช่วยหลวงอัครเทพวรากรและเจ้าคุณวิศาลคดีแก้เกมของประเทศนักล่าเมืองขึ้นทั้งสอง ในขณะเดียวกันเธอก็เริ่มผูกพันกับอดีตภพและความรักที่มีต่อหลวงอัครเทพวรากรมากขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่ปัญหาใหญ่ของบ้านเมืองจะต้องเร่งแก้ไข มณีจันทร์เองก็มีอีกปัญหาหนึ่งที่รอคอยให้เธอตัดสินใจเช่นกัน กระจกซึ่งเป็นประตูเชื่อมเวลาจะมีรอยร้าวเพิ่มขึ้นทุกครั้งที่เธอผ่านเข้าออก มันจะต้องแตกลงในวันหนึ่ง นั่นหมายถึงว่าเธอจะไม่สามารถเดินทางข้ามผ่านเวลาได้อีกต่อไป และเมื่อวันนั้นมาถึง มณีจันทร์จะตัดสินใจเช่นไร ระหว่างการอยู่ในภพอดีตกับหลวงอัครเทพวรากรผู้ที่รักเธอสุดหัวใจ หรือการกลับไปยังภาพที่เธอจากมา กลับไปเป็นสาวทันสมัยแห่งโลกปัจจุบันที่มีแม่ผู้เป็นที่รักรอคอยอยู่
ผู้เป็นเจ้าฟ้าหญิง แห่งแคว้นพันธุรัฐ ซึ่งเป็นเจ้าหญิงที่มีทั้งความงามและความเฉลียวฉลาด
มีความเข้าใจในสถานการณ์ด้านการเมืองของทั้งสามแคว้นอย่างถ่องแท้
จากการได้รับการศึกษาและได้รับการอบรมในด้านอุดมการณ์จากพระราชบิดา <br>
โดยในฐานะของเจ้าหญิงทรรศิกานั้นถือเป็นเจ้าหญิงที่มีความเข้มแข็งและมีจิตใจดี มีความเมตตา จากความพยายามที่จะยึดมั่นในหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อบ้านเมือง และความสุขของประชาชนมาโดยตลอด <br>
ความตอนหนึ่งจากบทประพันธ์บรรยายไว้ว่า '''''ดอกกล้วยไม้วินธัย หรือที่รังสิมันต์ทรงประทานชื่อว่า ดอกหัวใจทรรศิกา''''' ซึ่งเปรียบดั่งสตรีล้ำค่า ผู้แข็งแกร่งแต่อ่อนโยน


== การดัดแปลง ==
== การดัดแปลง ==
จากอรรถรสในการประพันธ์ที่งดงาม สละสลวย ถ้อยคำลึกซึ้ง ละมุนละไม ชิ้นนี้ของลักษณวดี ทำให้ดั่งดวงหฤทัยได้รับการสร้างเป็น[[ละครโทรทัศน์]]หลายครั้ง โดยมีการแก้ไข แต่งเติม ดัดแปลงบทไปตามเจตนารมณ์ของผู้สร้างเหล่านั้น <br> จิตวิญญาณนวนิยายชิ้นนี้คือนิทานเรื่องหนึ่ง ดั่งคำกล่าวจากคุณหญิงวิมลว่า “เหมือนแม่เล่านิทานให้ลูกฟัง”
[[ไฟล์:The Siam Renaissance.jpg|thumb|200px|ภาพยนตร์ [[ทวิภพ (ภาพยนตร์)|ทวิภพ]] ในปี พ.ศ. 2547]]
จากอรรถรสในการประพันธ์ที่เป็นเลิศชิ้นนี้ของทมยันตี ทำให้ทวิภพได้รับการสร้างเป็น[[ละคร]]และ[[ภาพยนตร์]]หลายครั้ง โดยมีการแก้ไข แต่งเติม ดัดแปลงบทไปตามเจตนารมณ์ของผู้สร้างเหล่านั้น

=== ภาพยนตร์ ===
ทวิภพโด่งดังเป็นประวัติการณ์เมื่อมีการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ กำกับโดย[[เชิด ทรงศรี]] สร้างโดยเชิดไชย ภาพยนตร์ จัดจำหน่ายโดย[[สหมงคลฟิล์ม]] ออกฉายในปี [[พ.ศ. 2533]] โดย[[ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] รับบทหลวงอัครเทพวรากร ส่วนบทมณีจันทร์ ในครั้งแรกวางตัว[[ปรียานุช ปานประดับ]] และถ่ายทำไปบางส่วน แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็น[[จันทร์จิรา จูแจ้ง]] และได้ถ่ายทำใหม่จนเสร็จสมบูรณ์ และในปี [[พ.ศ. 2547]] กำกับโดย[[สุรพงษ์ พินิจค้า]] สร้างโดย[[ฟิล์มบางกอก]] นำแสดงโดย[[รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง]] และ[[ฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์]]


=== ละครโทรทัศน์ ===
=== ละครโทรทัศน์ ===
ละคร '''ดั่งดวงหฤทัย''' ในปี [[พ.ศ. 2539]] ออกอากาศทาง[[ช่อง 7]] นำแสดงโดย [[ศรราม เทพพิทักษ์]] กับ [[นัท มีเรีย]]<br>
ละครทวิภพออกอากาศทาง[[ช่อง 7]] เป็นครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2537]] โดย[[สุรางค์ เปรมปรีดิ์]] ผู้ถือลิขสิทธิ์นวนิยายฉบับปี พ.ศ. 2537 นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ นำแสดงโดย[[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]] และ[[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]]


และ ในปี [[พ.ศ. 2563]] ออกอากาศทาง[[ช่อง 3 HD]] นำแสดงโดย [[เจษฎาภรณ์ ผลดี]] กับ [[คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ]]
ในปี [[พ.ศ. 2554]] โดย[[ดาราวิดีโอ]]นำละครเรื่องนี้กลับมาสร้างอีกครั้ง นำแสดงโดย[[อรรคพันธ์ นะมาตร์]] และ[[เขมนิจ จามิกรณ์]] กำกับโดย[[มานพ สัมมาบัติ]] ซึ่งเสียชีวิตในขณะที่ละครยังถ่ายทำไม่เสร็จ ทางดาราวิดีโอจึงมอบหมายให้[[เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน]] กำกับละครต่อ


=== ละครเวที ===
ค่ายละครเวที[[ซีเนริโอ]] ได้นำทวิภพมาสร้างเป็นละครเวทีในปี [[พ.ศ. 2548]] ซึ่งมีผู้แสดงนำ 2 คู่ คู่แรกนำแสดงโดย[[ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี]] และ[[ปนัดดา เรืองวุฒิ]]ส่วนคู่ที่สองนำแสดงโดย[[ภูธเนศ หงษ์มานพ]] และ[[สุธาสินี พุทธินันท์]] และละครเรื่องนี้คืนสู่เวทีอีกครั้งในช่วงเดือนพฤษภาคม [[พ.ศ. 2554]] นำแสดงโดย[[ปกรณ์ ลัม]] และ[[นัท มีเรีย]]


== รายชื่อนักแสดง ==
== รายชื่อนักแสดง ==
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|-
|-
! ปี || พ.ศ. 2533 || พ.ศ. 2537 || พ.ศ. 2547 || พ.ศ. 2548 || พ.ศ. 2554 || พ.ศ. 2554
! ละครโทรทัศน์ || พ.ศ. 2539 || พ.ศ. 2563
|-
|-
| สถานีออกอากาศ || [[ช่อง 7]] || [[ช่อง 3 HD]]
| รูปแบบการนำเสนอ || ภาพยนตร์ 35 มม. || ละคร [[ช่อง 7]] || ภาพยนตร์' || ละครเวที || ละครเวที || ละคร [[ช่อง 7]]
|-
|-
| ผลิตโดย || เชิดไชย ภาพยนตร์ || [[ดาราวิดีโอ]] || [[ฟิล์มบางกอก]] || [[ซีเนริโอ]] || [[ซีเนริโอ]] || [[ดาราวิดีโอ]]
| ผลิตโดย || [[สุรางค์ เปรมปรีดิ์|ดาราวิดีโอ]] || [[วรายุฑ มิลินทจินดา|ฮูแอนด์ฮู]]
|-
|-
| บทโทรทัศน์ || [[ภาวิต]] || [[ปราณประมูล]]
| บทการแสดง || [[ธม ธาตรี|ธม ธาตรี]] || จิตราภา || สุรพงษ์ พินิจค้า<br>[[วิมล ศิริไพบูลย์]]|| [[ถกลเกียรติ วีรวรรณ]] || [[ถกลเกียรติ วีรวรรณ|ถกลเกียรติ วีรวรรณ]] || นันทวรรณ รุ่งวงศ์พาณิชย์
|-
|-
| กำกับการแสดง || สมชาย สังข์สวัสดิ์ || [[รัญญา ศิยานนท์]]
| กำกับการแสดงโดย || [[เชิด ทรงศรี|เชิด ทรงศรี]] || [[จรูญ ธรรมศิลป์|จรูญ ธรรมศิลป์]] || สุรพงษ์ พินิจค้า || [[ถกลเกียรติ วีรวรรณ|ถกลเกียรติ วีรวรรณ]] || [[ถกลเกียรติ วีรวรรณ|ถกลเกียรติ วีรวรรณ]] || [[มานพ สัมมาบัติ|มาวิน แดงน้อย]]<br>เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน
|-
|-
| เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์ || [[ศรราม เทพพิทักษ์]] || [[เจษฎาภรณ์ ผลดี]] <br> ด.ช.วชิรวิทย์ อารีสมาน
| คุณหลวงอัครเทพวรากร || [[ฉัตรชัย เปล่งพานิช|ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] || [[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง|ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]] || [[รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง|รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง]] || [[ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี]]<br>[[ภูธเนศ หงษ์มานพ]] || [[ปกรณ์ ลัม|ปกรณ์ ลัม]] || [[อรรคพันธ์ นะมาตร์|อรรคพันธ์ นะมาตร์]]
|-
|-
| เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี || [[นัท มีเรีย]] <br> ด.ญ.เอเซีย ปทุมแก้ว || [[คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ]]
| มณีจันทร์ / เมณี่ || [[จันทร์จิรา จูแจ้ง| จันทร์จิรา จูแจ้ง]] || [[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์| สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]] || [[ฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์|ฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์]] || [[ปนัดดา เรืองวุฒิ]]<br>[[สุธาสินี พุทธินันท์]] || [[นัท มีเรีย]] || [[เขมนิจ จามิกรณ์|เขมนิจ จามิกรณ์]]
|-
|-
| เจ้าฟ้าชายทยุติธรบวรรังสี มกุฏราชกุมาร (พระเชษฐา) || [[โอลิเวอร์ พูพาร์ท]] <br> ด.ช.แอนโธนี วูด || [[ฐากูร การทิพย์]]
| หลวงเจนพาณิช || || || || || || [[อานัส ฬาพานิช|อานัส ฬาพานิช]]
|-
|-
| เจ้าฟ้าหญิงมณิสราเทวี || [[เกวลิน คอตแลนด์]] || [[ มทิรา ตันติประสุต]]
| ดร.ตรอง || สรจักร เกษมสุวรรณ || [[กลศ อัทธเสรี|กลศ อัทธเสรี]] || - || [[ภคชนก์ โวอ่อนศรี|ภคชนก์ โวอ่อนศรี]] || เจษฎา ด่านปาน || [[ณัฏฐ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา|ณัฏฐ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา]]
|-
|-
| พระราชเทวี || [[จารุณี สุขสวัสดิ์]] '''(นักแสดงรับเชิญ)''' || [[จินตหรา สุขพัฒน์]]
| กุลวรางค์ || มณฑากานต์ เชื่อมแก้ว || [[รุ้งทอง ร่วมทอง|รุ้งทอง ร่วมทอง]] || ผาณิต เจียรวิบูลยานนท์ || โน้ต ทิพย์อาภา || ชลเลขา ละงู || [[กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า|กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า]]
|-
|-
| พระนม || [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]] || ปาริฉัตร ไพรหิรัญ
| ประยงค์ || || [[อรอนงค์ ปัญญาวงศ์]] || || || || [[ฝนทิพย์ วัชรตระกูล|ฝนทิพย์ วัชรตระกูล]]
|-
|-
| มาลัย || [[เทพยุดา ศรียาภัย]] || [[รัญญา ศิยานนท์]]
| พ.ต.ไรวัติ || ปกรณ์ พรพิสุทธิ์ || [[ศตวรรษ ดุลยวิจิตร|ศตวรรษ ดุลยวิจิตร]] || พีรุตษ์ ตุลานนท์ || กฤช หิรัญพฤกษ์ || - || [[พิชยดนย์ พึ่งพันธ์|พิชยดนย์ พึ่งพันธ์]]
|-
|-
| กระวาน || [[ศิขรินธาร พลายพฤฒิ]] || [[วิรากานต์ เสณีตันติกุล]]
| คุณหญิงแสร์ || อรวรรณ โปร่งมณี || [[อรัญญา นามวงศ์|อรัญญา นามวงศ์]] || - || [[โฉมฉาย ฉัตรวิไล|โฉมฉาย ฉัตรวิไล]] || [[โฉมฉาย ฉัตรวิไล|โฉมฉาย ฉัตรวิไล]] || [[ดวงดาว จารุจินดา|ดวงดาว จารุจินดา]]
|-
|-
| เบนลี || [[ฉัตรมงคล บำเพ็ญ]] || [[พิเชษฐ์ไชย ผลดี]]
| มาลิดา || [[เมตตา รุ่งรัตน์|เมตตา รุ่งรัตน์]] || [[ดวงใจ หทัยกาญจน์|ดวงใจ หทัยกาญจน์]] || เทวีรัตน์ ลีลานุช || [[วิยะดา โกมารกุล ณ นคร|วิยะดา โกมารกุล ณ นคร]] || [[ปวีณา ชารีฟสกุล|ปวีณา ชารีฟสกุล]] || [[ปภัสรา เตชะไพบูลย์|ปภัสรา เตชะไพบูลย์]]
|-
|-
| ราชิด || [[กษาปณ์ จำปาดิบ]] || ฉันธนะ กฤชกาญจนพันธ์
| ม้วน / นุ่ม || สิริยา วงษ์รักไทย || [[เมตตา รุ่งรัตน์|เมตตา รุ่งรัตน์]] || สุภาภรณ์ เฉี่อยจันอัค || [[ปวันรัตน์ นาคสุริยะ|ปวันรัตน์ นาคสุริยะ]] || [[ปวันรัตน์ นาคสุริยะ|ปวันรัตน์ นาคสุริยะ]] || [[วชิรา เพิ่มสุริยา|วชิรา เพิ่มสุริยา]]
|-
|-
| เสนาบดีการคลัง || มีศักดิ์ นาครัตน์
| เจ้าคุณวิศาลคดี || || || || [[รอง เค้ามูลคดี|รอง เค้ามูลคดี]] || || [[ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี|ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี]]
|-
|-
| กรมวังพันธุรัฐ || [[แรม วรธรรม]] || [[สุเชาว์ พงษ์วิไล]]
| คุณหญิงสรเดช || || || || || || [[ปนัดดา โกมารทัต|ปนัดดา โกมารทัต]]
|-
|-
| เสนาบดีวิเทศน์ พันธุรัฐ || [[ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง]] || มาตรา ไพรหิรัญ
| จอห์น || || || || || || [[โอลิเวอร์ บีเวอร์|โอลิเวอร์ บีเวอร์]]
|-
|-
| เสนาบดีธรรมมาการ พันธุรัฐ || [[ชาลี ยมาภัย]] || เวนช์ ฟอลโคเนอร์
| ปีแอร์ || || || || || || [[ปรีดา ตันเต็มทรัพย์|ปรีดา ตันเต็มทรัพย์]]
|-
|-
| เสนาบดีกลาโหม พันธุรัฐ || [[มานพ อัศวเทพ]] || กลศ อัธเสรี
| ขาบ || || || || || || [[เอกรินทร์ อารีรักษ์|เอกรินทร์ อารีรักษ์]]
|-
|-
| เสนาความสงบ พันธุรัฐ || || พงศนารถ วินศิริ
| อิ่ม || || || || || || [[กมลพรรณ ทานตะวิรยะ|กมลพรรณ ทานตะวิรยะ]]
|-
|-
| โควินท์ หน่วยสังหารแห่งพันธุรัฐ || เคน สทรูทเดอร์ || [[วัชรชัย สุนทรศิริ]]
| หลวงไกร || || || || || || [[เคลลี่ ธนะพัฒน์|เคลลี่ ธนะพัฒน์]]
|-
|-
| ธารเทพ || ||[[โกสินทร์ ราชกรม]]
|-
|-
| ภานุ || เวนย์ ฟอลโคเนอร์ ||
| บัว (รับเชิญตอนจบ) ||ด.ญ.[[อรชุมา ธรรมกามี]] ||ด.ญ.[[หยาดทิพย์ ราชปาล]] ||ด.ญ. [[วรภร เลิศเกียรติไพบูลย์|อารดา เลิศเกียรติไพบูลย์]]|| || || ด.ญ.[[ชินารดี อนุพงษ์ภิชาติ]]
|-
| นนที || วิทิต แลต ||
|-
| อารัญ || รวิน ชุมเกษียร ||
|-
| กระรอกน้อย || || นันทพัฒน์ อภิวาท
|-
| นิสา || ราตรี วิทวัส ||
|-
! '''บทบาท''' || colspan = "3" align = "center"| '''นักแสดงรับเชิญ'''
|-
| เจ้าหลวงแห่งพันธุรัฐ || ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา ||
|-
| เจ้าหลวงแห่งทานตะ || [[ชุมพร เทพพิทักษ์]] || [[เป็ด เชิญยิ้ม]]
|-
| พระราชเทวีแห่งทานตะ || [[อลิษา ขจรไชยกุล]] || [[รัชนก แสงชูโต]]
|-
| พระเทวี แคว้นทานตะ || || นฤมล พงษ์สุภาพ
|-
| เสนาทานตะ || || อัฐพล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
|-
| เจ้านางพัชรธาร || || [[รินลณี ศรีเพ็ญ]]
|-
| เจ้าหญิงชยารพี แคว้นทานตะ || || ณัฏฐพัชร วิภัทรเดชตระกูล
|-
| องครักษ์วายุ || || [[เมธัส ตรีรัตนวารีสิน]]
|-
| เจ้าเมืองแคว้นพันธุรัฐ || || วีรชัย หัตโกวิท
|-
|-
|}
|}


== เพลงประกอบ ==
== รางวัลที่ได้รับ ==
; ละครโทรทัศน์ปี 2537
; ละครโทรทัศน์ปี 2539
* '''ดั่งดวงหฤทัย''' ขับร้องโดย ปกรณ์ ทัศนพันธุ์
* [[รางวัลเมขลา]] ละครชีวิตดีเด่น ปี 2537
* '''ด้วยรักจากใจ''' ขับร้องโดย [[นัท มีเรีย]]
* รางวัลเมขลา ผู้เขียนบทละครดีเด่น ปี 2537 (จิตราภา-จันนิภา เจตสมมา)
* '''ยิ่งรักเธอ''' ขับร้องโดย โดม - [[ปกรณ์ ลัม]]
* รางวัลเมขลา เพลงนำละครดีเด่น ปี 2537 ([[บิลลี่ โอแกน]])
* รางวัลเมขลา ผู้กำกับการแสดงดีเด่น ปี 2537 ([[จรูญ ธรรมศิลป์]])
* รางวัลเมขลา ผู้แสดงนำชายดีเด่น ปี 2537 ([[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]])
* รางวัลเมขลา ผู้แสดงนำหญิงดีเด่น ปี 2537 ([[สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์]])
; ละครโทรทัศน์ปี 2554
* รางวัลเมขลา ละครส่งเสริมวัฒนธรรมดีเด่น ปี 2554


; ละครโทรทัศน์ปี 2563
== '''ดูเพิ่ม''' ==
* '''ดั่งดวงหฤทัย''' ขับร้องโดย แสตมป์ - [[อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข]]
* [[ทวิภพ (ภาพยนตร์)|'''ทวิภพ (ภาพยนตร์)''']]
* '''ดั่งดวงหฤทัย''' เวอร์ชั่นภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ ขับร้องโดย ครูน้ำมนต์ - [[ธีรนัยน์ ณ หนองคาย]]
* [[ทวิภพ เดอะมิวสิคัล|'''ทวิภพ เดอะมิวสิคัล''']]


== '''อ้างอิง''' ==
== '''อ้างอิง''' ==
* '''[http://ดั่งดวงหฤทัย ดั่งดวงหฤทัย]https://www.sanook.com/movie/95905/
* '''{{Siamzone movie|id=912|title=ทวิภพ (2004)}}'''
* '''[http://ดั่งดวงหฤทัย%20(1996) ดั่งดวงหฤทัย (1996)]http://70-90memory.blogspot.com/2016/03/1996_21.html
* '''{{imdb title|0399725|ทวิภพ (2547)}} ({{lang-en|Tawipop}})'''
* '''{{imdb title|0138891|ทวิภพ (2533)}} ({{lang-en|The Two Worlds}})'''
* [http://www.rachadalai.com/tawipob/main.html '''ทวิภพ เดอะมิวสิคัล (2548,2549)''']
* [http://www.thaiticketmajor.com/performance/tawipob-the-musical-2011.php '''ทวิภพ เดอะมิวสิคัล (2554)''']
* [http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2010/08/A9625736/A9625736.html '''http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2010/08/A9625736/A96257'''36.html]

[[หมวดหมู่:นวนิยายอิงประวัติศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:นวนิยายไทยที่ประพันธ์โดย วิมล เจียมเจริญ]]
[[หมวดหมู่:นวนิยายไทยที่ประพันธ์โดย วิมล เจียมเจริญ]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2533]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2547]]
[[หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์เดินทางข้ามเวลา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:50, 24 เมษายน 2563

ทวิภพ
ประเภทพีเรียดลิเกฝรั่ง, จินตนิยาย
เขียนโดยบทประพันธ์
ลักษณวดี
แสดงนำละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539
ศรราม เทพพิทักษ์
นัท มีเรีย
ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2563
เจษฎาภรณ์ ผลดี
คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย ไทย
ภาษาต้นฉบับไทย ไทย
จำนวนตอนพ.ศ. 2539 : ตอน
พ.ศ. 2563 : 13 ตอน
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างพ.ศ. 2539
สุรางค์ เปรมปรีดิ์
พ.ศ. 2563
ช่อง 3
ฮูแอนด์ฮู
ความยาวตอนพ.ศ. 2539 : / ตอน
พ.ศ. 2563 : 130 นาที / ตอน
ออกอากาศ
เครือข่ายพ.ศ. 2539
ช่อง 7
พ.ศ. 2563
ช่อง 3 HD

ดั่งดวงหฤทัย นวนิยายรักพาฝัน จินตนิยาย โรแมนติกแฟนตาซีเรื่องราวเมืองสมมติ
เป็นบทประพันธ์ของ ลักษณวดี (นามปากกาของ คุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์) ซึ่งทางผู้แต่งได้รับแรงบันดาลใจจากแต่งนิทานให้ลูกชายขณะเดินทางท่องเที่ยว ปัจจุบัน สำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม ได้รับลิขสิทธิ์ให้นำบทประพันธ์ดังกล่าวมาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้ง มีการนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 3 ครั้งด้วยกัน

เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของลักษณวดี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักสุดแสนโรแมนติกชวนฝันในโลกแห่งจินตนาการ ระหว่าง เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์ กับ เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี
โดยมีแก่นความสัมพันธ์ระหว่างแคว้น ของ 3 แคว้น คือ กาสิก, พันธุรัฐ, ทานตะ ทั้งสามแคว้นต่างมีจุดด้อยแตกต่างกัน ความหวาดระแวง คลางแคลงใจ ความเข้าใจผิด ของทั้งสามแคว้น จะนำมาซึ่งสงครามหรือไม่

โครงเรื่อง

เรื่องเริ่มจากเหตุการ์ณทางการเมืองของแคว้นสามแคว้นคือ แคว้นกาสิก แคว้นพันธุรัฐ และแคว้นทานตะ เมื่อขบวนนำส่งเสด็จเจ้าฟ้าหญิงมนิสรา แห่งทานตะซึ่งมีนิสัยอ่อนโยนและอ่อนแอ ไปสู่แคว้นกาสิกเพื่อเข้าพิธีอภิเษกกับเจ้าหลวงรังสิมันต์ แห่งกาสิก ที่คนทั่วทุกแคว้นต่างเล่าลือกันว่าเป็นคนเหียมโหด ดุร้ายยิ่งนักและในการอภิเษกครั้งนี้เป็นไปตามข้อตกลงทางการเมืองมิใช่ความรัก ทำให้เจ้าฟ้าหญิงมนิสรา หลบหนีจากขบวนเข้าไปยังชายแดนของพันธุรัฐ โดยเจ้าฟ้าธยุติธร มกุฏราชกุมารแห่งพันธุรัฐ เป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ และนั้นเป็นเหตุให้เกิดข้อพิพาทระหว่างแคว้น ทำให้เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกา พระขนิษฐา ต้องเสด็จไปยังชายแดนเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาแต่ขบวนเสด็จถูกโจมตีทำให้เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกาหลงทางกับขบวน เข้าไปในป่าลึกและได้พบกับชายแปลกหน้าตั้งกองไฟกลางป่าประหนึ่งชาวบ้านหาของป่า แต่ชายผู้นั้นลึกลับยิ่งแม้จะระมัดระวังตัวนั่งอยู่ห่างแต่สุดท้ายก็โดนวางยาสลบ แม้ตื่นขึ้นมาก็ได้ทราบแน่ว่าถูกจับตัวมาโดยแคว้นกาสิกเพื่อเป็นเชลยทางการเมืองแลกเปลี่ยนตัวกับเจ้าฟ้าหญิงมนิสรา เมื่อแน่ใจเช่นนั้นเจ้าหญิงทรรศิกาทรงฟื้นขึ้นในกระโจมประทับแรมของขบวนโจรชุดดำได้พบกับกระวานสาวชาวป่าพันธุรัฐที่เก็บสมุนไพรอยู่บริเวณชายแดนที่มีคนจ้างมาเป็นนางกำนัลดูแลเจ้าหญิงคิดอุบายสลับเสื้อผ้ากับกระวานปลอมตัวเป็นสาวชาวบ้านออกไปหาสีนิลที่ถูกพวกโจรจับได้และยึดไว้ เพื่อขี่กลับพันธุรัฐแต่ชายหัวหน้าโจรรู้ทันเจ้าหญิงรีบขี่ม้าหนีแต่ไม่พ้นหัวหน้าโจรขี่ม้าตามมาจับพระองค์ขึ้นมาในอ้อมกอด เจ้าหญิงร้องขอชีวิตโดยจะยกสร้อยทับทิมที่พระบิดาพระราชทานมาให้ จนหัวหน้าโจรประกาศว่าตนคือเจ้าหลวงรังสิมันต์และเป็นคนเดียวกับที่วางยาสลบพระองค์เจ้าหญิงเห็นแหวนที่เจ้าหลวงทรงสวมก็หมดคำถาม

คาแรคเตอร์ตัวละครหลัก

เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์ แห่งกาสิก ผู้เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ปกครองแคว้น
เป็นคนผิวขาวจัด ดวงเนตรดำ และ หุนหัน ปากหนัก ขี้โมโห เอาแต่ใจ แต่แท้จริงแล้วรังสิมันต์ช่างเอาใจคนนึงเท่านั้นเอง ไม่ได้โหดร้าย ดิบเถื่อน
ชายหนุ่มผู้สง่างาม และมีความเข้มแข็ง ซึ่งเป็นนักปกครอง และเป็นชายหนุ่ม ผู้มีจิตใจดีงาม และมีความเฉลียวฉลาด ซึ่งปกครองผู้คน และตัดสินทุกสิ่ง ด้วยความยุติธรรม และมีเหตุผล

เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี แห่งพันธุรัฐ ผู้งดงาม ฉลาดเฉลียว อ่อนหวาน แต่เคร่งขรึมเป็นหนอนหนังสือ เป็นกวีร้องเพลงไพเราะ เก่งในเกมกีฬาเกือบทุกชนิด มีความรอบรู้วิชาการหลายด้าน สนใจเรื่องการเมืองการปกครองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ไร้เดียงสามากในเรื่องความสัมพันธ์กับเพศตรงข้าม
ผู้เป็นเจ้าฟ้าหญิง แห่งแคว้นพันธุรัฐ ซึ่งเป็นเจ้าหญิงที่มีทั้งความงามและความเฉลียวฉลาด มีความเข้าใจในสถานการณ์ด้านการเมืองของทั้งสามแคว้นอย่างถ่องแท้ จากการได้รับการศึกษาและได้รับการอบรมในด้านอุดมการณ์จากพระราชบิดา
โดยในฐานะของเจ้าหญิงทรรศิกานั้นถือเป็นเจ้าหญิงที่มีความเข้มแข็งและมีจิตใจดี มีความเมตตา จากความพยายามที่จะยึดมั่นในหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อบ้านเมือง และความสุขของประชาชนมาโดยตลอด
ความตอนหนึ่งจากบทประพันธ์บรรยายไว้ว่า ดอกกล้วยไม้วินธัย หรือที่รังสิมันต์ทรงประทานชื่อว่า ดอกหัวใจทรรศิกา ซึ่งเปรียบดั่งสตรีล้ำค่า ผู้แข็งแกร่งแต่อ่อนโยน

การดัดแปลง

จากอรรถรสในการประพันธ์ที่งดงาม สละสลวย ถ้อยคำลึกซึ้ง ละมุนละไม ชิ้นนี้ของลักษณวดี ทำให้ดั่งดวงหฤทัยได้รับการสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้ง โดยมีการแก้ไข แต่งเติม ดัดแปลงบทไปตามเจตนารมณ์ของผู้สร้างเหล่านั้น
จิตวิญญาณนวนิยายชิ้นนี้คือนิทานเรื่องหนึ่ง ดั่งคำกล่าวจากคุณหญิงวิมลว่า “เหมือนแม่เล่านิทานให้ลูกฟัง”

ละครโทรทัศน์

ละคร ดั่งดวงหฤทัย ในปี พ.ศ. 2539 ออกอากาศทางช่อง 7 นำแสดงโดย ศรราม เทพพิทักษ์ กับ นัท มีเรีย

และ ในปี พ.ศ. 2563 ออกอากาศทางช่อง 3 HD นำแสดงโดย เจษฎาภรณ์ ผลดี กับ คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ


รายชื่อนักแสดง

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2563
สถานีออกอากาศ ช่อง 7 ช่อง 3 HD
ผลิตโดย ดาราวิดีโอ ฮูแอนด์ฮู
บทโทรทัศน์ ภาวิต ปราณประมูล
กำกับการแสดง สมชาย สังข์สวัสดิ์ รัญญา ศิยานนท์
เจ้าหลวงรังสิมันตรัตน์ ศรราม เทพพิทักษ์ เจษฎาภรณ์ ผลดี
ด.ช.วชิรวิทย์ อารีสมาน
เจ้าฟ้าหญิงทรรศิกากัญญาวดี นัท มีเรีย
ด.ญ.เอเซีย ปทุมแก้ว
คิมเบอร์ลี่ แอน เทียมศิริ
เจ้าฟ้าชายทยุติธรบวรรังสี มกุฏราชกุมาร (พระเชษฐา) โอลิเวอร์ พูพาร์ท
ด.ช.แอนโธนี วูด
ฐากูร การทิพย์
เจ้าฟ้าหญิงมณิสราเทวี เกวลิน คอตแลนด์ มทิรา ตันติประสุต
พระราชเทวี จารุณี สุขสวัสดิ์ (นักแสดงรับเชิญ) จินตหรา สุขพัฒน์
พระนม อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา ปาริฉัตร ไพรหิรัญ
มาลัย เทพยุดา ศรียาภัย รัญญา ศิยานนท์
กระวาน ศิขรินธาร พลายพฤฒิ วิรากานต์ เสณีตันติกุล
เบนลี ฉัตรมงคล บำเพ็ญ พิเชษฐ์ไชย ผลดี
ราชิด กษาปณ์ จำปาดิบ ฉันธนะ กฤชกาญจนพันธ์
เสนาบดีการคลัง มีศักดิ์ นาครัตน์
กรมวังพันธุรัฐ แรม วรธรรม สุเชาว์ พงษ์วิไล
เสนาบดีวิเทศน์ พันธุรัฐ ชลประคัลภ์ จันทร์เรือง มาตรา ไพรหิรัญ
เสนาบดีธรรมมาการ พันธุรัฐ ชาลี ยมาภัย เวนช์ ฟอลโคเนอร์
เสนาบดีกลาโหม พันธุรัฐ มานพ อัศวเทพ กลศ อัธเสรี
เสนาความสงบ พันธุรัฐ พงศนารถ วินศิริ
โควินท์ หน่วยสังหารแห่งพันธุรัฐ เคน สทรูทเดอร์ วัชรชัย สุนทรศิริ
ธารเทพ โกสินทร์ ราชกรม
ภานุ เวนย์ ฟอลโคเนอร์
นนที วิทิต แลต
อารัญ รวิน ชุมเกษียร
กระรอกน้อย นันทพัฒน์ อภิวาท
นิสา ราตรี วิทวัส
บทบาท นักแสดงรับเชิญ
เจ้าหลวงแห่งพันธุรัฐ ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา
เจ้าหลวงแห่งทานตะ ชุมพร เทพพิทักษ์ เป็ด เชิญยิ้ม
พระราชเทวีแห่งทานตะ อลิษา ขจรไชยกุล รัชนก แสงชูโต
พระเทวี แคว้นทานตะ นฤมล พงษ์สุภาพ
เสนาทานตะ อัฐพล ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
เจ้านางพัชรธาร รินลณี ศรีเพ็ญ
เจ้าหญิงชยารพี แคว้นทานตะ ณัฏฐพัชร วิภัทรเดชตระกูล
องครักษ์วายุ เมธัส ตรีรัตนวารีสิน
เจ้าเมืองแคว้นพันธุรัฐ วีรชัย หัตโกวิท

เพลงประกอบ

ละครโทรทัศน์ปี 2539
  • ดั่งดวงหฤทัย ขับร้องโดย ปกรณ์ ทัศนพันธุ์
  • ด้วยรักจากใจ ขับร้องโดย นัท มีเรีย
  • ยิ่งรักเธอ ขับร้องโดย โดม - ปกรณ์ ลัม
ละครโทรทัศน์ปี 2563

อ้างอิง