ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไบโอดีเซล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
6+36256256
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


=== การทำไบโอดีเซล ===
=== การทำไบโอดีเซล ===
# ...
# ขั้นตอนจากพืชน้ำมันไปเป็นน้ำมันพืช
# ...
# ขั้นตอนจากน้ำมันพืชไปเป็นไบโอดีเซล
# ...
# ...
# ...
# ...
# ...
...

...

...

...................................................

.........................................................

..............................................................

.กดดด..................หหกกก.กก.ก.ก...กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก............กกกกกกกกกกก...กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก.......กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก้้้้้้้้้้้ร.......รรรรรรรรรรรร

หฟกแรฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหดรรฟรีสีจยตรๆไยำดแียพรดอยๆะรนอำ่ยอรย.นรยีรสจต...........................................ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุะำพพ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ....................พพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพ....พพ...พ...พ.พ.พ..พ.พ.พพพพพพพพพพพพพ..พพพพพ.พ...พพพพ.พพพพพพ.พพพพพ.พพพพพพ. ห



ยบยบ

ยบ



นย

ยบ




=== ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซล ===
=== ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซล ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:15, 28 ธันวาคม 2559

ไฟล์:BDF Bottles.JPG
ไบโอดีเซล บรรจุขวด

ไบโอดีเซล (อังกฤษ: biodiesel) เป็นเชื้อเพลิงดีเซลที่ผลิตจากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น น้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือสาหร่าย ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงดีเซลทางเลือก นอกเหนือจากดีเซลที่ผลิตจากปิโตรเลียม โดยมีคุณสมบัติการเผาไหม้ เหมือนกับดีเซลจากปิโตรเลียมมาก และสามารถใช้ทดแทนกันได้

คุณสมบัติสำคัญของไบโอดีเซลคือ สามารถย่อยสลายได้เอง ตามกระบวนการชีวภาพในธรรมชาติ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม

นิยาม

ไบโอดีเซลเป็นพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงดีเซล จัดเป็นสารประเภทเอสเทอร์ทำจากน้ำมันพืชผ่านกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่ากระบวนการทรานส์เอสเตอริฟิเคชัน (Transesterification Process) โดยให้น้ำมันพืชทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ เช่นเมทานอล หรือเอทานอล และมีด่างเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มีลักษณะเป็นเอสเตอร์ของกรดไขมัน เรียกว่า Fatty Acid Methyl Ester

การเรียกชื่อประเภทของไบโอดีเซลขึ้นกับชนิดของแอลกอฮอล์ที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา เช่น เมทิลเอสเตอร์ เป็นเอสเตอร์ที่ได้จากการใช้เมทานอลเป็นสารในการทำปฏิกิริยา หรือเอทิลเอสเตอร์ เป็นเอสเตอร์ที่ได้จากการใช้เอทานอล เป็นสารในการทำปฏิกิริยา เป็นต้น[1] ไบโอดีเซลแบ่งได้เป็น 3 ชนิดคือ[2]

การผลิต

ในปัจจุบัน ต้นทุนการผลิตไบโอดีเซล ยังมีราคาแพงกว่าดีเซลจากปิโตรเลียมเมื่อไม่นับรวมถึงอัตราภาษีสรรพสามิต ในประเทศเยอรมนี ในปีพ.ศ. 2548 มีกำลังการผลิต 2 ล้านตันต่อปี ราคาจำหน่ายตามสถานีประมาณ 45 บาทต่อลิตร ซึ่งมีราคาถูกกว่าน้ำมันดีเซลเพราะมีการยกเว้นภาษีสรรพสามิต

ประเทศไทยริเริ่มโครงการไบโอดีเซลเมื่อ ปีพ.ศ. 2543 และได้มีการติดตั้งระบบผลิตเอทธิลเอสเตอร์โดยโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 และได้มีการพัฒนาโครงการไบโอดีเซลชุมชนที่ จ.เชียงใหม่ ปัจจุบัน (มีนาคม พ.ศ. 2549) มีไบโอดีเซล 5% จำหน่ายในสถานีของ ปตท. และบางจาก ในกทม. และเชียงใหม่ (ตามโครงการล้านนาฟ้าใสไบโอดีเซล) ทั้งหมด 15 สถานี

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต

  1. น้ำมันปาล์มดิบ
  2. น้ำมันมะพร้าว ราคาวัตถุดิบต่ำ แต่เสถียรภาพด้านปริมาณและมูลค่าเพิ่มไม่ดีเท่าน้ำมันปาล์มดิบ
  3. น้ำมันสบู่ดำ
  4. น้ำมันดอทานตะวัน
  5. น้ำมันแรพซีด (rape seed oil)
  6. น้ำมันถั่วเหลือง
  7. น้ำมันถั่วลิสง
  8. น้ำมันละหุ่ง
  9. น้ำมันงา
  10. น้ำมันพืชใช้แล้ว มีปัญหาเรื่องการปนเปื้อนในรูปของน้ำและตะกอน

ขั้นตอนการผลิต

การทำไบโอดีเซล

  1. ...
  2. ...
  3. ...
  4. ...
  5. ...
  6. ...
  7. ...

...

...

...

...................................................

.........................................................

..............................................................

.กดดด..................หหกกก.กก.ก.ก...กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก............กกกกกกกกกกก...กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก.......กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก้้้้้้้้้้้ร.......รรรรรรรรรรรร

หฟกแรฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหฟหดรรฟรีสีจยตรๆไยำดแียพรดอยๆะรนอำ่ยอรย.นรยีรสจต...........................................ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุะำพพ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ.พ....................พพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพพ....พพ...พ...พ.พ.พ..พ.พ.พพพพพพพพพพพพพ..พพพพพ.พ...พพพพ.พพพพพพ.พพพพพ.พพพพพพ. ห

ยบยบ

ยบ

นย

ยบ

ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซล

  1. นำน้ำมันพืชที่ได้จากพืชน้ำมันมาผสมทำปฏิกิริยากับเมทานอล (methanol) กับสารเร่งปฏิกิริยา ซึ่งจะได้เป็นไบโอดีเซล กับกลีเซอรีน
  2. แยกกลีเซอรีนออก ทำความสะอาดไบโอดีเซล

มาตรฐานภาพ

  1. ตัวจุดวาบไฟ (flash point) โดยปกติมาตรฐานจะอยู่ที่ 130 ถ้าหากสูงกว่านี้ คือเป็น 150 หรือ 170 จะทำให้รถสตาร์ทติดง่าย
  2. ความบริสุทธิ์ของไบโอดีเซล

ข้อแตกต่างระหว่างไบโอดีเซลกับน้ำมันดีเซล

    1. ลดการนำเข้าน้ำมันปิโตรเลียมทำให้ประหยัดเงินตราไว้ในประเทศ
    2. มีค่าซีเทน (Cetane Index) สูงกว่าน้ำมันดีเซลทำให้เครื่องยนต์สตาร์ทติดง่ายเครื่องยนต์เดินเรียบ
    3. มีความปลอดภัยในการใช้งานมากกว่าน้ำมันดีเซลเพราะจุดติดไฟสูงกว่า (น้ำมันดีเซล 69 องศาเซลเซียสน้ำมันไบโอดีเซล 150 องศาเซลเซียส) มีกลิ่นสะอาดไม่เป็นอันตรายเพราะผลิตจากไขมันพืชและสัตว์
    4. ลดควันดำถึง 75 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันดีเซล
    5. ลดมลภาวะจากคาร์บอนมอนอกไซด์
    6. ไม่มีกำมะถันจึงไม่ก่อให้เกิดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เหมือนน้ำมันดีเซล
    7. จุดวาบไฟของน้ำมันดีเซลต่ำ ประมาณ 50 กว่า ในขณะที่จุดวาบไฟของน้ำมันไบโอดีเซล ประมาณ 100 กว่าขึ้นไป

ผลต่อการทำงานของรถยนต์

ไบโอดีเซลช่วยหล่อลื่นแทนกำมะถัน และลดฝุ่นละอองหรือควันดำ ที่เรียกว่า particulate matter ให้ต่ำลง โดยไม่ทำให้เครื่องยนต์อุดตันเพราะเผาไหม้หมดดอ[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 พิศมัย เจนวนิชปัญจกุล, คุยเฟื่องเรื่องวิทย์, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 20 ฉบับที่ 3, 2548, หน้า 12-16
  2. อีลีหย๊ะ สนิโซ เชิดตระกูล หอมจำปา และ สูรายา เจ๊ะเต๊ะ. ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนและความหนืดของน้ำมันพืชใช้แล้วผสมกับน้ำมันดีเซล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2551.

แหล่งข้อมูลอื่น