พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์
พรปวีณ์ ในการแข่งแบดมินตันซีเกมส์ 2017 รอบชิงชนะเลิศ
ข้อมูลส่วนตัว
ประเทศประเทศไทย
เกิด22 มกราคม พ.ศ. 2541 (26 ปี)
เทศบาลนครระยอง ประเทศไทย
ส่วนสูง1.70 ม.
มือที่ถนัดขวา
หญิงเดี่ยว
อันดับโลกสูงสุด8 (4 ตุลาคม พ.ศ. 2565)
อันดับโลกปัจุบัน11 (21 มีนาคม พ.ศ. 2566)
รายการเหรียญรางวัล
แบดมินตันหญิง
ตัวแทนของ  ไทย
ซูดีร์มันคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โกลด์โคสต์ 2017 ทีมผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หนานหนิง 2019 ทีมผสม
ยูเบอร์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บางกอก 2018 ทีมหญิง
เอเชียนเกมส์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 จาการ์ตา-ปาเล็มบัง 2018 ทีมหญิง
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หางโจว 2022 ทีมหญิง
ทีมผสมชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โฮจิมินห์ 2017 ทีมผสม
ทีมชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ไฮเดอราบาด 2016 ทีมหญิง
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มะนิลา 2020 ทีมหญิง
ซีเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กัวลาลัมเปอร์ 2017 ทีมหญิง
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฟิลิปปินส์ 2019 ทีมหญิง
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เวียดนาม 2021 ทีมหญิง
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เวียดนาม 2021 หญิงเดี่ยว
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กัวลาลัมเปอร์ 2017 หญิงเดี่ยว
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฟิลิปปินส์ 2019 หญิงเดี่ยว
เยาวชนชิงแชมป์โลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บิลบาโอ 2016 เยาวชนหญิงเดี่ยว
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อาโลร์เซอตาร์ 2014 ทีมผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บิลบาโอ 2016 ทีมผสม
เยาวชนชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ บางกอก 2015 เยาวชนหญิงเดี่ยว
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บางกอก 2016 ทีมผสม
BWF profile

พรปวีณ์ ช่อชูวงศ์ (22 มกราคม พ.ศ. 2541 – ) เป็นนักแบดมินตันชาวไทย[1] ชื่อเล่นหมิว เธอเป็นผู้ชนะรางวัลเหรียญเงินประเภทหญิงเดี่ยวจากการแข่งแบดมินตันเยาวชนชิงแชมป์เอเชีย 2015 และแบดมินตันเยาวชนชิงแชมป์โลก 2016[2] นอกจากนี้ เธอยังเป็นส่วนหนึ่งของทีมไทยที่ชนะการแข่งกีฬาแบดมินตันในซีเกมส์ 2017 และ 2019[3] พรปวีณ์คว้าแชมป์เวิลด์ทัวร์ครั้งแรกในรายการสเปนมาสเตอส์ 2020 โดยเป็นฝ่ายชนะแชมป์โอลิมปิกอย่างกาโรลินา มาริน ในรอบชิงชนะเลิศ[4]

ความสำเร็จ[แก้]

ซีเกมส์[แก้]

หญิงเดี่ยว

พ.ศ. สถานที่ ฝ่ายตรงข้าม คะแนน ผล
2560 อาเซียตาอารีนา กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย อู๋ จิ่นเวย 9–21, 21–10, 18–21 ทองแดง ทองแดง
2562 ศูนย์กีฬามันทินลูปา เมโทรมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย รูเซลลี ฮาร์ตาวัน 16–21, 21–10, 18–21 ทองแดง ทองแดง

แบดมินตันเยาวชนชิงแชมป์โลก[แก้]

เยาวชนหญิงเดี่ยว

พ.ศ. สถานที่ ฝ่ายตรงข้าม คะแนน ผล
2559 บิลบาโออารีนา บิลบาโอ ประเทศสเปน จีน เฉิน อวี่เฟย 14–21, 17–21 เงิน เงิน

เยาวชนชิงแชมป์เอเชีย[แก้]

เยาวชนหญิงเดี่ยว

พ.ศ. สถานที่ ฝ่ายตรงข้าม คะแนน ผล
2558 ศูนย์ฝึกแบดมินตันและวิทยาศาสตร์การกีฬา กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย จีน เหอ ปิงเจียว 16–21, 17–21 เงิน เงิน

บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ (ชนะเลิศ 2 รายการ, รองชนะเลิศ 3 รายการ)[แก้]

บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ ซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2560 และดำเนินการในปี พ.ศ. 2561[5] เป็นการแข่งขันแบดมินตันชั้นยอด ซึ่งได้รับการอนุมัติโดยสหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) ทั้งนี้ บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์แบ่งออกเป็นหกระดับ ได้แก่ เวิลด์ทัวร์ไฟนอลส์, ซูเปอร์ 1000, ซูเปอร์ 750, ซูเปอร์ 500, ซูเปอร์ 300 (ส่วนหนึ่งของเอชเอสบีซี เวิลด์ทัวร์) และบีดับเบิลยูเอฟ ทัวร์ซูเปอร์ 100[6]

หญิงเดี่ยว

พ.ศ. ทัวร์นาเมนต์ ระดับ ฝ่ายตรงข้าม คะแนน ผล
2561 ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส ซูเปอร์ 300 ไทย ณิชชาอร จินดาพล 11–21, 18–21 2 รองชนะเลิศ
2563 สเปนมาสเตอส์ ซูเปอร์ 300 สเปน กาโรลินา มาริน 11–21, 21–16, 21–18 1 ชนะเลิศ
2564 ออลอิงแลนด์โอเพน ซูเปอร์ 1000 ญี่ปุ่น โนโซมิ โอกูฮาระ 12–21, 16–21 2 รองชนะเลิศ
2565 โคเรียโอเพน ซูเปอร์ 500 เกาหลีใต้ An Se-young 17–21, 18–21 2 รองชนะเลิศ
2566 สวิสโอเพน ซูเปอร์ 300 เดนมาร์ก Mia Blichfeldt 21–16, 21–18 1 ชนะเลิศ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Players: Pornpawee Chochuwong". bwfbadminton.com. Badminton World Federation. สืบค้นเมื่อ 23 October 2016.
  2. Palar, Sanjeev (3 February 2021). "Badminton's Pornpawee Chochuwong has Ratchanok Intanon to thank for her success". www.olympicchannel.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  3. "ทีมตบลูกขนไก่สาวไทย เจ๋ง คว้าแชมป์ซีเกมส์ 4 สมัยติด". badmintonthai.or.th. 3 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2021. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  4. Hearn, Don (24 February 2020). "SPAIN MASTERS – First major title for Pornpawee Chochuwong". www.badzine.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2020. สืบค้นเมื่อ 11 February 2021.
  5. "BWF Launches New Events Structure". Badminton World Federation. 29 November 2017.
  6. "Action-Packed Season Ahead!". Badminton World Federation. 15 January 2018.
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๔, เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๒ ข หน้า ๒๖, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]