ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลอกซาซิลลิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ps:کلوکساسيلين
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Drugbox
{{ต้องการอ้างอิง}}
| verifiedrevid = 460045783
{{ขยายความ}}
| IUPAC_name = (2''S'',5''R'',6''R'')-6-{[3-(2-chlorophenyl)-5-methyl-<br>oxazole-4-carbonyl]amino}-3,3-dimethyl-7-oxo-<br>4-thia-1-azabicyclo[3.2.0]heptane-2-carboxylic acid
{{drugbox |
| image = Cloxacillin.svg
|ชื่อ IUPAC = 7-[3-(2-chlorophenyl)-5-methyl-oxazol-4-yl]carbonylamino-3,3-dimethyl-6-oxo-2-thia-5-azabicyclo[3.2.0]heptane-4-carboxylate

|image=Cloxacillin.svg
<!--Clinical data-->
| เลขทะเบียน CAS = 61-72-3
| tradename = Cloxapen
| ATC_prefix= J01
| Drugs.com = {{drugs.com|CONS|cloxacillin}}
| ATC_suffix= CF02
| pregnancy_US = B
| PubChem=6098
| legal_status =
| DrugBank=APRD00882
| routes_of_administration = Oral, [[Intramuscular injection|IM]]
| width=137

|สูตรเคมี = [[คาร์บอน|C]]<sub>19</sub>[[ไฮโดรเจน|H]]<sub>18</sub>[[คลอรีน|Cl]]<sub>2</sub>[[ไนโตรเจน|N]]<sub>3</sub>[[ออกซิเจน|O]]<sub>5</sub>[[กำมะถัน|S]]
<!--Pharmacokinetic data-->
|น้ำหนักโมเลกุล = 435.882 | &nbsp;[[กรัม|ก]]/[[โมล]]
| bioavailability = 37 to 90%
|ชีวปริมาณออกฤทธิ์ = ?
| protein_bound = 95%
|กระบวนการสร้างและสลาย = ?
| metabolism =
|ครึ่งชีวิตของการกำจัด = 0.7 hour
| elimination_half-life = 30 minutes to 1 hour
|การขับถ่าย = ?
| excretion = [[Kidney|Renal]] and biliary
|ลำดับขั้นของยาต่อการตั้งครรภ์ = ?

|สถานะตามกฎหมาย = ?
<!--Identifiers-->
|การละลายในน้ำ = 13.9 mg/L
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
|ช่องทางการรับยา = ?
| CAS_number_Ref = {{cascite|correct|??}}
|ความหนาแน่น = ?
| CAS_number = 61-72-3
|จุดหลอมเหลว = ?
| ATC_prefix = J01
|จุดเดือด = ?
| ATC_suffix = CF02
| ATC_supplemental = {{ATCvet|J51|CF02}} {{ATCvet|S01|AA90}}
| PubChem = 6098
| DrugBank_Ref = {{drugbankcite|correct|drugbank}}
| DrugBank = DB01147
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| ChemSpiderID = 5873
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| UNII = O6X5QGC2VB
| KEGG_Ref = {{keggcite|correct|kegg}}
| KEGG = D07733
| ChEBI_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEBI = 49566
| ChEMBL_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEMBL = 891

<!--Chemical data-->
| C=19 | H=18 | Cl=1 | N=3 | O=5 | S=1
| molecular_weight = 435.88 g/mol
| smiles = O=C(O)[C@@H]3N4C(=O)[C@@H](NC(=O)c2c(onc2c1ccccc1Cl)C)[C@H]4SC3(C)C
| InChI = 1/C19H18ClN3O5S/c1-8-11(12(22-28-8)9-6-4-5-7-10(9)20)15(24)21-13-16(25)23-14(18(26)27)19(2,3)29-17(13)23/h4-7,13-14,17H,1-3H3,(H,21,24)(H,26,27)/t13-,14+,17-/m1/s1
| InChIKey = LQOLIRLGBULYKD-JKIFEVAIBU
| StdInChI_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChI = 1S/C19H18ClN3O5S/c1-8-11(12(22-28-8)9-6-4-5-7-10(9)20)15(24)21-13-16(25)23-14(18(26)27)19(2,3)29-17(13)23/h4-7,13-14,17H,1-3H3,(H,21,24)(H,26,27)/t13-,14+,17-/m1/s1
| StdInChIKey_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChIKey = LQOLIRLGBULYKD-JKIFEVAISA-N
}}
}}

'''คลอกซาซิลลิน''' ({{lang-en|Cloxacillin}}) เป็น[[ยาปฏิชีวนะ]]กึ่งสังเคราะห์ อยู่ในประเภทเดียวกับ[[เพนิซิลลิน]] [[Beecham (pharmaceutical company)|บริษัทบีแชม]] (Beecham) คิดค้นขึ้นเมื่อราวต้นพุทธทศวรรษที่ 2490 และพัฒนาเรื่อยมา<ref name="Greenwood2008">{{cite book|author=David Greenwood|title=Antimicrobial drugs: chronicle of a twentieth century medical triumph|url=http://books.google.com/books?id=i4_FZHmzjzwC&pg=PA124|accessdate=18 November 2010|year=2008|publisher=Oxford University Press US|isbn=978-0-19-953484-5|pages=124–}}</ref> ยานี้ขายโดยใช้ชื่อทางการค้าหลายชื่อ เช่น ''คลอกซาเพน (Cloxapen)'', ''คล็อกซาแคป (Cloxacap)'', ''เทโกเพน (Tegopen)'', ''ออร์เบนิน (Orbenin)'' และ ''เมคล็อก (Meicolx)''
'''คลอกซาซิลลิน''' ({{lang-en|Cloxacillin}}) เป็นยาปฏิชีวนะประเภทเซมิไซเทติก

คลอกซาซิลลินใช้ต่อต้านเชื้อ[[staphylococcus|สแตฟิโลคอกคัส]] (staphylococcus) ซึ่งสร้างเอนไซม์[[beta-lactamase|บีตา-แลกตาเมส]] (beta-lactamase) อันก่อแบคทีเรียบางประเภท คลอกซาซิลลินมีฤทธิ์ต่อต้านแบคทีเรียน้อยกว่า[[benzylpenicillin|เบนซิลเพนิซิลลิน]] (benzylpenicillin) ทว่า มีข้อดีคือมีความเป็นพิษน้อย เว้นแต่ในกรณีแพ้ยา

ในการศึกษาหนึ่ง ผู้ศึกษาได้ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อมีการใช้คลอกซาซิลลินมากขึ้นเรื่อย ๆ จะมีผลให้[[vancomycin|แวนโคไมซิน]] (vancomycin) หรือยาปฏิชีวินะที่ใช้ต่อต้านแบคทีเรียทำนองเดียวกัน ได้รับการใช้น้อยลง<ref name="pmid16375769">{{cite journal |author=Lawrence SL, Roth V, Slinger R, Toye B, Gaboury I, Lemyre B |title=Cloxacillin versus vancomycin for presumed late-onset sepsis in the Neonatal Intensive Care Unit and the impact upon outcome of coagulase negative staphylococcal bacteremia: a retrospective cohort study |journal=BMC Pediatr |volume=5|pages=49 |year=2005 |pmid=16375769 |pmc=1343548 |doi=10.1186/1471-2431-5-49 |url=http://www.biomedcentral.com/1471-2431/5/49}}</ref>

== อ้างอิง ==
{{reflist}}


{{ยาปฏิชีวนะ}}
{{ยาปฏิชีวนะ}}

[[หมวดหมู่:ยา]]
[[หมวดหมู่:ยาปฏิชีวนะ]]
[[หมวดหมู่:ยาปฏิชีวนะ]]
{{โครงเภสัชกรรม}}


[[de:Cloxacillin]]
[[de:Cloxacillin]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:11, 5 ตุลาคม 2555

คลอกซาซิลลิน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าCloxapen
AHFS/Drugs.comMicromedex Detailed Consumer Information
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • US: B (ไม่มีความเสี่ยงในสัตว์)
ช่องทางการรับยาOral, IM
รหัส ATC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล37 to 90%
การจับกับโปรตีน95%
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ30 minutes to 1 hour
การขับออกRenal and biliary
ตัวบ่งชี้
  • (2S,5R,6R)-6-{[3-(2-chlorophenyl)-5-methyl-
    oxazole-4-carbonyl]amino}-3,3-dimethyl-7-oxo-
    4-thia-1-azabicyclo[3.2.0]heptane-2-carboxylic acid
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.000.468
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC19H18ClN3O5S
มวลต่อโมล435.88 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C(O)[C@@H]3N4C(=O)[C@@H](NC(=O)c2c(onc2c1ccccc1Cl)C)[C@H]4SC3(C)C
  • InChI=1S/C19H18ClN3O5S/c1-8-11(12(22-28-8)9-6-4-5-7-10(9)20)15(24)21-13-16(25)23-14(18(26)27)19(2,3)29-17(13)23/h4-7,13-14,17H,1-3H3,(H,21,24)(H,26,27)/t13-,14+,17-/m1/s1 checkY
  • Key:LQOLIRLGBULYKD-JKIFEVAISA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

คลอกซาซิลลิน (อังกฤษ: Cloxacillin) เป็นยาปฏิชีวนะกึ่งสังเคราะห์ อยู่ในประเภทเดียวกับเพนิซิลลิน บริษัทบีแชม (Beecham) คิดค้นขึ้นเมื่อราวต้นพุทธทศวรรษที่ 2490 และพัฒนาเรื่อยมา[1] ยานี้ขายโดยใช้ชื่อทางการค้าหลายชื่อ เช่น คลอกซาเพน (Cloxapen), คล็อกซาแคป (Cloxacap), เทโกเพน (Tegopen), ออร์เบนิน (Orbenin) และ เมคล็อก (Meicolx)

คลอกซาซิลลินใช้ต่อต้านเชื้อสแตฟิโลคอกคัส (staphylococcus) ซึ่งสร้างเอนไซม์บีตา-แลกตาเมส (beta-lactamase) อันก่อแบคทีเรียบางประเภท คลอกซาซิลลินมีฤทธิ์ต่อต้านแบคทีเรียน้อยกว่าเบนซิลเพนิซิลลิน (benzylpenicillin) ทว่า มีข้อดีคือมีความเป็นพิษน้อย เว้นแต่ในกรณีแพ้ยา

ในการศึกษาหนึ่ง ผู้ศึกษาได้ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อมีการใช้คลอกซาซิลลินมากขึ้นเรื่อย ๆ จะมีผลให้แวนโคไมซิน (vancomycin) หรือยาปฏิชีวินะที่ใช้ต่อต้านแบคทีเรียทำนองเดียวกัน ได้รับการใช้น้อยลง[2]

อ้างอิง

  1. David Greenwood (2008). Antimicrobial drugs: chronicle of a twentieth century medical triumph. Oxford University Press US. pp. 124–. ISBN 978-0-19-953484-5. สืบค้นเมื่อ 18 November 2010.
  2. Lawrence SL, Roth V, Slinger R, Toye B, Gaboury I, Lemyre B (2005). "Cloxacillin versus vancomycin for presumed late-onset sepsis in the Neonatal Intensive Care Unit and the impact upon outcome of coagulase negative staphylococcal bacteremia: a retrospective cohort study". BMC Pediatr. 5: 49. doi:10.1186/1471-2431-5-49. PMC 1343548. PMID 16375769.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)