เรือบรรทุกอากาศยานชั้นควีนเอลิซาเบธ
เรือหลวงควีนเอลิซาเบธ (ลำหน้า)
และเรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (ลำหลัง) | |
ประวัติ | |
---|---|
สหราชอาณาจักร | |
ชื่อ | Queen Elizabeth |
ตั้งชื่อตาม | เอลิซาเบธที่ 1[3] |
ผู้ให้บริการ | ราชนาวี |
Ordered | 20 พฤษภาคม 2008 |
อู่เรือ | Rosyth Dockyard |
มูลค่าสร้าง | สองลำ: 6.1 พันล้านปอนด์[6] |
ปล่อยเรือ | 7 กรกฎาคม 2009[2] |
เดินเรือแรก | 17 กรกฎาคม 2014 |
Christened | 4 กรกฎาคม 2014 |
เข้าประจำการ | 7 ธันวาคม 2017[1] |
บริการ | 2020[5] |
ท่าจอด | ฐานทัพเรือพอร์ตสมัท |
คำขวัญ | Semper Eadem ("เหมือนเดิมเสมอ")[4] |
สถานะ | ยังคงประจำการ |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: | Queen Elizabeth-class aircraft carrier |
ประเภท: | เรือบรรทุกอากาศยานขนาดใหญ่ |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 65,000 ตัน (64,000 long ton; 72,000 short ton)[7] |
ความยาว: | 284 m (932 ft)[8] |
ความกว้าง: |
39 m (128 ft) (ที่เส้นระดับน้ำ) 73 m (240 ft) ทั้งลำ |
กินน้ำลึก: | 11 m (36 ft)[9] |
ดาดฟ้า: |
|
ระบบขับเคลื่อน: | ระบบขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า: เครื่องยนต์ของ Rolls-Royce Marine อัลเทอร์เนเตอร์แบบกังหันก๊าซ MT30 ให้กำลัง 36 MW และ เครื่องยนต์ดีเซล ให้กำลัง 10 MW จำนวนสี่ระบบ[10] |
ความเร็ว: | 25 นอต (46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 29 ไมล์ต่อชั่วโมง), tested to 32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 37 ไมล์ต่อชั่วโมง)[11] |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 10,000 ไมล์ทะเล (19,000 กิโลเมตร)[5] |
จำนวนเรือและอากาศยาน: |
|
ความจุ: | 1,600 ผู้โดยสาร |
กำลังพล: | 250 นาย |
อัตราเต็มที่: | 679 นาย |
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ: |
|
ยุทโธปกรณ์: |
|
อากาศยาน: |
|
อุปกรณ์สนับสนุนการบิน: |
|
ควีนเอลิซาเบธ เป็นชั้นเรือบรรทุกอากาศยานของราชนาวีสหราชอาณาจักร สร้างขึ้นจำนวนสองลำ ได้แก่ เรือหลวงควีนเอลิซาเบธ และเรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ มีความสามารถบรรทุกอากาศยานจำนวนหกสิบลำ ทั้งแบบปีกตรึงและแบบปีกหมุน[16] เรือชั้นนี้รับเอาชื่อจากเรือหลวงควีนเอลิซาเบธลำแรกซึ่งเป็นเรือรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งตั้งชื่อตามสมเด็จพระนางเจ้าเอลิซาเบธที่ 1
ในปี 2007 สหราชอาณาจักรประกาศการสร้างเรือบรรทุกอากาศยานจำนวนสองลำ[17] และตั้งงบประมาณสำหรับสองลำไว้ที่ 4,085 ล้านปอนด์ อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างก็ประสบความล่าช้า และงบประมาณบานปลายขึ้นตามลำดับ ท้ายที่สุดในปี 2013 มีการเจรจาต่อรองแก้ไขสัญญาจนจบที่ 6,200 ล้านปอนด์[18]
เรือชั้นนี้เริ่มสร้างในปี 2009 และแล่นทดสอบในเดือนมิถุนายน 2017[19] เข้าประจำการในเดือนธันวาคม 2017 และเริ่มปฏิบัติการในปี 2020 ชั้นเรือนี้ถูกออกแบบให้รองรับอากาศยานขึ้นลงแนวดิ่ง ซึ่งเป็นการออกแบบเพื่อเครื่องบินขับไล่ F-35 ไลท์นิง 2 และยังมีเฮเลคอปเตอร์ AgustaWestland AW101 สำหรับเตือนภัยล่วงหน้าทางอากาศและปราบเรือดำน้ำ เรือชั้นนี้ยังถูกออกแบบให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน สามารถรองรับกำลังพลราชนาวิกโยธิน 250 นายพร้อมส่วนสนับสนุนอย่างเฮลิคอปเตอร์โจมตี และเฮลิคอปเตอร์ลำเลียงขนาดใหญ่ อย่างเช่น CH-47 ชีนุก ฐานปฏิบัติการอยู่ที่ฐานทัพเรือพอร์ตสมัท[20]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Queen to commission namesake aircraft carrier in three weeks, Defence Secretary announces on flight-deck". Royal Navy. 16 November 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2017. สืบค้นเมื่อ 16 November 2017.
- ↑ "Work begins on aircraft carriers". BBC News. 7 July 2009. สืบค้นเมื่อ 11 March 2011.
- ↑ Allison, George (4 March 2018). "Royal Navy press team confirm which monarch HMS Queen Elizabeth is named for". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 March 2018. สืบค้นเมื่อ 4 March 2018.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Key facts about the Queen Elizabeth class" (PDF). Aircraft Carrier Alliance. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2017. สืบค้นเมื่อ 7 June 2015.
- ↑ Pocock, Chris (18 July 2014). "British Carrier Remains Controversial". Aviation International News Online. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2018. สืบค้นเมื่อ 5 July 2018.
- ↑ "HMS Queen Elizabeth". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
- ↑ "Future Ships: Queen Elizabeth class". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2013. สืบค้นเมื่อ 12 August 2013.
- ↑ "Future Aircraft Carrier (CVF) Facts and Figures". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2008. สืบค้นเมื่อ 21 May 2008.
- ↑ 10.0 10.1 "Queen Elizabeth class aircraft carrier: A Guide". UK Defence Journal. 2 January 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2017. สืบค้นเมื่อ 6 February 2017.
- ↑ Allison, George (24 July 2017). "HMS Queen Elizabeth exceeds stated maximum speed on trials". UK Defence Journal.
- ↑ "Close-in defence for the Royal Navy's aircraft carriers". Navy Lookout.com. 28 April 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.
- ↑ "In focus: the Fleet Solid Support ship design". Navy Lookout. 28 February 2023. สืบค้นเมื่อ 14 April 2023.
- ↑ Allison, George (6 December 2016). "What will the Queen Elizabeth class carriers carry?". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017. สืบค้นเมื่อ 24 January 2017.
- ↑ Hankinson, Andrew (19 March 2017). "Replacing the Invincibles: Inside the Royal Navy's controversial £6.2 billion warships". Wired UK. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2017. สืบค้นเมื่อ 29 August 2017.
- ↑ Allison, George (9 February 2018). "What kind of aircraft and how many of them will HMS Queen Elizabeth carry?". UK Defence Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2018. สืบค้นเมื่อ 8 April 2020.
- ↑ "Ministry of Defence Major Projects Report 2010 HC489-I" (PDF). House of Commons Defence Committee. 15 October 2010. p. 7 and fig 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 November 2013.
- ↑ "House of Commons Hansard Debates for 6 November 2013 (pt 0001)". UK Parliament. 6 November 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2013. สืบค้นเมื่อ 3 January 2014.
- ↑ "Queen Elizabeth Due To Set Sail From Rosyth today". BBC News. 26 June 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2017. สืบค้นเมื่อ 26 June 2017.