เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (R09)
เรือหลวง ปรินส์ออฟเวลส์ เดือนกันยายน 2019
| |
ประวัติ | |
---|---|
สหราชอาณาจักร | |
ชื่อ | HMS Prince of Wales |
ตั้งชื่อตาม | เจ้าชายแห่งเวลส์ |
ผู้ให้บริการ | ราชนาวี |
Ordered | 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2008 |
อู่เรือ | Aircraft Carrier Alliance |
ปล่อยเรือ | 26 พฤษภาคม 2011[3] |
เดินเรือแรก | 21 ธันวาคม ค.ศ. 2017 |
สนับสนุนโดย | ดัชเชสแห่งคอร์นวอล |
Christened | 8 กันยายน ค.ศ. 2017 |
เข้าประจำการ | ธันวาคม ค.ศ. 2019 (คาดการณ์)[1][2] |
ท่าจอด | พอร์ตสมัท |
รหัสระบุ |
|
คำขวัญ | Ich Dien ("I Serve") |
สถานะ | Sea Trials[4] |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: | เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นควีนเอลิซาเบธ |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 65,000 ตัน[5] |
ความยาว: | 284 m (932 ft)[6] |
ความกว้าง: |
|
กินน้ำลึก: | 11 เมตร[7] |
ดาดฟ้า: | 16,000 ตารางเมตร |
ความเร็ว: | 25 นอต (46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 10,000 ไมล์ทะเล (19,000 กิโลเมตร) |
ความจุ: | 1,600 คน |
กำลังพล: | 250 นาย |
อัตราเต็มที่: | 679 นาย |
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ: |
|
ยุทโธปกรณ์: |
|
อากาศยาน: |
|
อุปกรณ์สนับสนุนการบิน: |
|
เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (อังกฤษ: HMS Prince of Wales (R09)) เป็นเรือลำที่สองของเรือบรรทุกอากาศยานชั้นควีนเอลิซาเบธของราชนาวีสหราชอาณาจักร แล้วเสร็จในปี 2020 ถือเป็นเรือหลวงลำที่เจ็ดที่ได้รับพระราชทานนาม ปรินส์ออฟเวลส์ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเจ้าชายแห่งเวลส์ การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี 2011 และมีส่งมอบแก่ราชนาวีในปี 2019 และเริ่มปฏิบัติการในปี 2023
เรือหลวงปรินส์ออฟเวลส์ (R09) แตกต่างจากเรือบรรทุกเครื่องบินแบบอื่นๆ กล่าวคือไม่ได้ติดตั้งเครื่องยิงปล่อยอากาศยาน (catapult) และระบบช่วยลดความเร็วอากาศยานในการลงจอด (arresting gear) เนื่องจากเรือลำนี้ถูกออกแบบให้ใช้กับอากาศยานขึ้นลงแนวดิ่ง ปัจจุบันเรือลำนี้มีแผนประจำการเครื่องบินรบหลากบทบาทรุ่น F-35B ไลท์นิง 2 จำนวน 40 ลำ และเฮลิคอปเตอร์รุ่น AW101 ที่ติดตั้งระบบแจ้งเตือนภัยทางอากาศล่วงหน้า (airborne early warning) และติดตั้งอุปกรณ์ปราบเรือดำน้ำ อย่างไรก็ตาม ศักยภาพสูงสุดของเรือลำนี้สามารถบรรทุกเครื่องบิน F-35 ได้ถึง 70 ลำ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Britain's second carrier sets sail for sea trials". UK Ministry of Defence. 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 20 September 2019.
- ↑ "HMS Prince of Wales hits top speed at sea". Royal Navy. Scotland. 2 October 2019. สืบค้นเมื่อ 2 October 2019.
- ↑ "Steel cut on second super-carrier". Navy News.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "House of Commons Hansard Written Answers for 21 Nov 2011". HM Government. 21 November 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2011. สืบค้นเมื่อ 22 November 2011.
- ↑ "Queen Elizabeth class". royalnavy.mod.uk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
- ↑ "Queen Elizabeth Class". Royal Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2013. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.
- ↑ "Future Aircraft Carrier (CVF)". Ministry of Defence. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 พฤษภาคม 2008. สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2008.
- ↑ "Queen Elizabeth class: facts and figures". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 July 2011. สืบค้นเมื่อ 28 July 2011.
- ↑ Royal Navy – Global Force 2013 (PDF) (graphic), Press Association, p. 86[ลิงก์เสีย] – source: Royal Navy.
- ↑ What will the Queen Elizabeth class carriers carry?, UK Defence Journal, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2017, สืบค้นเมื่อ 24 January 2017 – source: UK Defence Journal.
- ↑ "Replacing the Invincibles: inside the Royal Navy's controversial £6.2 billion warships", Wired, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 September 2017, สืบค้นเมื่อ 29 August 2017 – source: Wired UK
- ↑ "Fleet Air Arm: future aircraft". Royal Navy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 September 2011. สืบค้นเมื่อ 18 September 2011.