ข้ามไปเนื้อหา

เจ้าชายมูลัย อิสมาอิล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจ้าชายมูลัย อิสมาอิล

อิสมาอิล
เจ้าชายแห่งโมร็อกโก
ประสูติ7 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 (43 ปี)
เบรุต เลบานอน
พระชายาอนิซาห์ เลมูไน
พระบุตรมูลัย อุบดัลลาห์
ลัลลา อิชฮา
ลัลลา ฮัลลา
ลัลลา อซินา
ราชวงศ์อะลาวีย์
พระบิดาเจ้าชายมูลัย อับดัลลาห์
พระมารดาเจ้าหญิงลัลลา ลาเมีย

เจ้าชายมูลัย อิสมาอิล (อังกฤษ: Prince Moulay Ismail of Morocco) ประสูติเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2524 ณ เบรุต เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน เจ้าชายมูลัย อับดัลลาห์ กับ เจ้าหญิงลัลลา ลาเมีย เป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีโมฮัมเหม็ดที่ 5 แห่งโมร็อกโก เป็นพระราชภาติยะใน สมเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 แห่งโมร็อกโก เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีโมฮัมเหม็ดที่ 6 รัชกาลปัจจุบัน ปัจจุบันทรงอยู่ในลำดับที่ 5 ในการสืบราชบัลลังก์โมร็อกโก พระมารดาของพระองค์เป็นธิดาของ ราอัด อัล ชอห์น นายกรัฐมนตรีคนแรกของเลบานอน

เสกสมรส

[แก้]

พระองค์ทรงเสกสมรสกับ อนิซาห์ เลมูไน เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2552 มีพระบุตรดังนี้

  1. มูลัย อุบดัลลาห์
  2. ลัลลา อิชฮา
  3. ลัลลา ฮัลลา
  4. ลัลลา อซินา

เจ้าชายมูลัย อิสมาอิล ทรงงานในธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์โดยชื่อว่า เทโอรา โดยมีหุ้นในพระองค์ 35% และยังทรงงานในบริษัท เกียมอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น ของโมร็อกโก และยังมีแฟรนไชส์ร้านอาหารในอาหรับ หลายที่ ในขณะที่งานในพระราชวงศฺ์ ทรงเป็นองค์ประธานในมูลนิธิคนจนของประเทศ

อ้างอิง

[แก้]

[1] [2] [3] [4]

  1. "MOROCCO12". www.royalark.net. Retrieved 2018-02-24.
  2. "SM le Roi préside à Rabat la cérémonie de conclusion de l'acte de mariage de SA le Prince Moulay Ismail" (in French).
  3. "Amine Belkhouya, gérant de Kia Maroc, le jour où tout a basculé". 24 April 2014. Retrieved 15 June 2014.
  4. "Kia Motors Maroc Belkhouya sous les verrous". 21 April 2014. Archived from the original on 15 June 2014. Retrieved 15 June 2014.