ฮานะ คิมูระ
ฮานะ คิมูระ | |
---|---|
คิมูระใน ค.ศ. 2019 | |
ชื่อเกิด | ฮานะ คิมูระ |
เกิด | 3 กันยายน ค.ศ. 1997 โยโกฮามะ คานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น |
เสียชีวิต | 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2020 เขตโคโต โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น[1] | (22 ปี)
สาเหตุ การเสียชีวิต | การกลืนกินไฮโดรเจนซัลไฟด์[2] |
พ่อแม่ | เคียวโกะ คิมูระ (แม่) |
ประวัติมวยปล้ำอาชีพ | |
ชื่อบนสังเวียน | ฮานะ คิมูระ |
ส่วนสูง | 5 ฟุต 5 นิ้ว (165 เซนติเมตร)[3] |
น้ำหนัก | 128 ปอนด์ (58 กิโลกรัม)[3] |
มาจาก | โยโกฮามะ คานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น[4] |
ฝึกหัดโดย | เรสเซิล-1 |
เปิดตัว | ค.ศ. 2016 |
ฮานะ คิมูระ (ญี่ปุ่น: 木村花; อักษรโรมัน: Hana Kimura; 3 กันยายน ค.ศ. 1997 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2020) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพหญิงชาวญี่ปุ่น เธอเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่เธออยู่ในสมาคมมวยปล้ำหญิงเวิลด์วันเดอร์ริงสตาร์ดอมตั้งแต่ ค.ศ. 2016 ถึง 2020 และเรสเซิล-1 นอกเหนือจากการปรากฏตัวให้แก่บริษัทต่างชาติ เช่น ริงออฟออเนอร์, โปร-เรสลิง: อีฟ รวมถึงสมาคมต่าง ๆ ในประเทศเม็กซิโก ทั้งนี้ คิมูระเป็นนักมวยปล้ำรุ่นที่สอง ซึ่งแม่ของเธอ เคียวโกะ คิมูระ เป็นอดีตนักมวยปล้ำอาชีพ[5]
เธอเคยร่วมแสดงในฟูจิเทเลวิชัน และซีรีส์เรียลลิตีโชว์เน็ตฟลิกซ์อย่างเทอร์เรซเฮาส์: โตเกียว 2019–2020 ซึ่งเป็นภาคที่ห้าของแฟรนไชส์เทอร์เรซเฮาส์ โดยหลังจากทวีตที่น่าหนักใจซึ่งกล่าวถึงการวิพากษ์วิจารณ์ออนไลน์จากผู้ชมเทอร์เรซเฮาส์ที่ส่งตรงมาที่เธอ เธอถูกพบว่าเสียชีวิตในอพาร์ตเมนต์ของเธอในโตเกียวเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2020[6] ซึ่งการเสียชีวิตของเธอได้รับการตัดสินว่าเป็นการฆ่าตัวตายในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2020[7]
อาชีพมวยปล้ำอาชีพ
[แก้]อาชีพตอนต้น
[แก้]ก่อนประกอบอาชีพมวยปล้ำอาชีพ คิมูระได้ชนะการแข่งดีดีที ไอรอนแมนเฮฟวีเมทัลเวตแชมเปียนชิปหนึ่งสมัยเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ. 2005 ที่งานแสดงสดในโตเกียว จากนั้นจึงเสียตำแหน่งให้เคียวโกะ ซึ่งเป็นแม่ของเธอ[8]
ในคริสต์ทศวรรษ 2010 คิมูระได้รับการฝึกที่มหาวิทยาลัยมวยปล้ำอาชีพของเรสเซิล-1[9]
เรสเซิล-1 (ค.ศ. 2016–2019)
[แก้]หลังจากสำเร็จการศึกษาจากสถาบันฝึกของสมาคมเรสเซิล-1 เธอได้รับการเปิดตัวเพื่อเลื่อนชั้นในวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 2016 โดยปะทะกับเรกะ ไซกิ ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมชั้นของเธอ ในความพยายามที่ทำให้แพ้[10] และทั้งคู่ปล้ำกันหลายครั้งตลอด ค.ศ. 2016 ในเรสเซิล-1[11]
เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 2016 คิมูระได้ปล้ำกับแม่ของเธอในการแข่ง ครั้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 2016 คิมูระคว้าตำแหน่งผู้ชนะรายการแรกของเธอในเจดับเบิลยูพี จูเนียร์แชมเปียนชิป โดยเป็นฝ่ายชนะยาโกะ ฟูจิงาซากิ ในรอบชิงชนะเลิศ[11] แล้วเธอก็เป็นฝ่ายแพ้เจดับเบิลยูพี จูเนียร์แชมเปียนชิป เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 2016 ให้แก่ยาโกะ ฟูจิงาซากิ ส่วนวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 2017 แม่ของเธอได้อำลาสังเวียน ซึ่งในรายการเกษียณอายุของเตียวโกะนั้น คิมูระเอาชนะแม่ของเธอในการแข่งเดี่ยวและในรายการเดียวกัน โดยทั้งสองได้ร่วมทีมในการแข่งทรีโอด้วยความพยายามเพื่อชัยชนะ[11]
ในช่วง ค.ศ. 2017 คิมูระแบ่งเวลาระหว่างเรสเซิล-1, เซ็นไดเกิลส์โปรเรสลิง และสตาร์ดอมในขณะที่เป็นนักแสดงตามสัญญาของเรสเซิล-1 คิมูระกลายเป็นสมาชิกรายการของเรสเซิล-1 อย่างเป็นทางการในวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 2018[12] กระทั่งเธอออกทัวร์ต่างประเทศในช่วงต้น ค.ศ. 2018 โดยแข่งสำหรับริงออฟออเนอร์, โปร-เรสลิง: อีฟ และสมาคมต่าง ๆ ในประเทศเม็กซิโก
ครั้นเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2019 คิมูระประกาศว่าเธอจะออกจากเรสเซิล-1[13]
ผลงานแชมป์ความสำเร็จ
[แก้]- Dramatic Dream Team
- JWP Joshi Puroresu
- Princess of Pro-Wrestling Championship (1 time)[16]
- JWP Junior Championship (1 time)[17]
- JWP Junior Championship Tournament (2016)[18]
- Princess of Pro-Wrestling Tournament (2016)[18]
- Pro Wrestling Illustrated
- Ranked No. 60 of the top 100 female wrestlers in the PWI Women's 100 in 2018[19]
- World Wonder Ring Stardom
- Artist of Stardom Championship (2 times)[20] – with Jungle Kyona and Konami (1), Kagetsu and Kyoko Kimura (1)
- Goddess of Stardom Championship (1 time) – with Kagetsu[21]
- 5★Star GP (2019)[22]
- Stardom Year-End Award (2 times)
- Best Tag Team Award (2017) with Kagetsu[23]
- Fighting Spirit Award (2019)[24]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ S. Levine, Daniel (May 24, 2020). "Hana Kimura's Cause of Death Has Fans Devastated". Pop Culture. สืบค้นเมื่อ May 24, 2020.
- ↑ Alvarez, Bryan; Meltzer, Dave (May 24, 2020). "WOR: Hana Kimura, AEW Double or Nothing, Stadium Stampede, more! 5/24". Wrestling Observer Radio. เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ 15:00-15:40. สืบค้นเมื่อ May 24, 2020.
The death was actually at 4:00 am. She had ingested hydrogen sulfide. So that was the cause of death and not too much else is going to be released because her mother did not want much more released.
- ↑ 3.0 3.1 "Hana Kimura". Cagematch. สืบค้นเมื่อ April 24, 2021.
- ↑ Ring of Honor Wrestling (March 19, 2018). Sumie Sakai vs Hana Kimura (WOH Championship Tournament Round 1). สืบค้นเมื่อ May 22, 2020.
- ↑ "In Memoriam: Hana Kimura". New Japan Pro-Wrestling. May 23, 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-07. สืบค้นเมื่อ May 23, 2020.
- ↑ "Japanese wrestling star Hana Kimura dies aged 22". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 23 May 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-05-23.
The cause of death was not immediately clear. Shortly before she died, she issued a series of troubling social media posts implying she had been cyber-bullied. The most recent update on her Instagram story on Friday featured a photo of her with her cat, with a caption that read "goodbye".
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อRogers
- ↑ Henry, Justin (May 23, 2020). "Stardom Wrestler Hana Kimura Passes Away". Cultaholic. สืบค้นเมื่อ February 21, 2021.
- ↑ "W-1プロレス学校入学式 武藤校長「1期生大事」". Nikkan Sports (ภาษาญี่ปุ่น). Nikkan Sports. October 1, 2015. สืบค้นเมื่อ April 16, 2019.
- ↑ "プロレス総合学院1期生卒業試合リポー". Wrestle-1 (ภาษาญี่ปุ่น). Wrestle-1. March 30, 2016. สืบค้นเมื่อ April 16, 2019.
- ↑ 11.0 11.1 11.2 "Hana Kimura". cagematch.net. สืบค้นเมื่อ April 16, 2019.
- ↑ "木村響子&ISAOの娘・木村花がWRESTLE-1入団!" [Kyoko Kimura & ISAO's daughter, Hana Kimura, joins WRESTLE-1!]. Battle-News (ภาษาญี่ปุ่น). January 9, 2018. สืบค้นเมื่อ February 21, 2021.
- ↑ ""メキシコ帰りの二世美女レスラー"木村花がWRESTLE-1を退団!「ステップアップしてW-1に恩返ししたい」". Yahoo (ภาษาญี่ปุ่น). Yahoo. March 22, 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 17, 2019. สืบค้นเมื่อ April 16, 2019.
- ↑ "Biography". Kaori-Yoneyama.com (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-23. สืบค้นเมื่อ February 4, 2012.
- ↑ "Ironman Heavymetalweight Title". Puroresu Dojo. สืบค้นเมื่อ February 4, 2012.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (September 18, 2016). "Princess of Pro-Wrestling Championship". Cagematch – The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ May 25, 2021.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (September 18, 2016). "JWP Junior Championship". Cagematch – The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ May 25, 2021.
- ↑ 18.0 18.1 Kreikenbohm, Philip (September 18, 2016). "JWP Fly High In The 25th Anniversary – Tag 7 (Evening Show) – Event @ Itabashi Green Hall in Tokyo, Japan". Cagematch – The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ May 25, 2021.
- ↑ Big Daddy Kel (November 1, 2018). "The PWI Top 100 Female Wrestlers in the World". Wrestling Travel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-03. สืบค้นเมื่อ November 9, 2018.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (December 2, 2016). "Artist of Stardom Championship". Cagematch – The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ May 25, 2021.
- ↑ Kreikenbohm, Philip (June 21, 2017). "Goddess of Stardom Championship". Cagematch – The Internet Wrestling Database. สืบค้นเมื่อ May 25, 2021.
- ↑ Michael, Casey. "Hana Kimura Wins STARDOM 2019 5STAR Grand Prix". Squared Circle Sirens. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-18. สืบค้นเมื่อ September 22, 2019.
- ↑ "Best Tag Team Award". Cagematch – The Internet Wrestling Database.
- ↑ "Fighting Spirit Award". Cagematch – The Internet Wrestling Database.