ข้ามไปเนื้อหา

อิสลอม แกรีมัฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิสลอม แกรีมัฟ
แกรีมัฟใน ค.ศ. 2013
ประธานาธิบดีอุซเบกิสถานคนที่ 1
ดำรงตำแหน่ง
1 กันยายน 1991 – 2 กันยายน 2016
นายกรัฐมนตรีอับดุลฮาเชิม มุตาลอฟ (1992–1995)
โอตคีร์ ซุลตอนอฟ (1995–2003)
ชัฟแกต มือร์ซียอยิฟ (2003–2016)
รองประธานาธิบดีชึกรุลลอ เมอร์แซอีดอฟ (1990–1992)
ก่อนหน้าก่อตั้งตำแหน่ง
ถัดไปนึฆมาตึลลา โยลดอชิฟ (รักษาการประธานาธิบดี) (2016)
ชัฟแกต มือร์ซียอยิฟ (ประธานาธิบดี) (2016–ปัจจุบัน)
ประธานาธิบดีสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก
ดำรงตำแหน่ง
24 มีนาคม 1990 – 1 กันยายน 1991
ก่อนหน้าก่อตั้งตำแหน่ง
ถัดไปยุบเลิกตำแหน่ง
เลขาธิการกลางที่หนึ่งแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอุซเบกิสถาน
ดำรงตำแหน่ง
23 มิถุนายน 1989 – 1 กันยายน 1991
ก่อนหน้าราเฟิค นิชอนอฟ (1988–1989)
ถัดไปยุบเลิกตำแหน่ง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
อิสลอม อับดูฆานียีวิช แกรีมัฟ

30 มกราคม ค.ศ. 1938(1938-01-30)
ซามาร์กันต์ อุซเบกิสถาน สหภาพโซเวียต
(ปัจจุบันคือประเทศอุซเบกิสถาน)
เสียชีวิต2 กันยายน ค.ศ. 2016(2016-09-02) (78 ปี)
ทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน
พรรคการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์ (ก่อน ค.ศ. 1991)
พรรคประชาธิปไตยประชาชน (1991–2006)
พรรคเสรีประชาธิปไตย (2006–2016)
คู่สมรสนาตาเลีย คึชเมอ (แต่งงาน ค.ศ. 1964; หย่า ประมาณ ค.ศ. 1966)
ทาเทียนา แครีโมวา (แต่งงาน ค.ศ. 1967; 2016; เขาเสียชีวิต)
บุตร

อิสลอม อับดูฆานียีวิช แกรีมัฟ (อุซเบก: Islom Abdugʻaniyevich Karimov / Ислом Абдуғаниевич Каримов; 30 มกราคม ค.ศ. 1938 – 2 กันยายน ค.ศ. 2016) เป็นนักการเมืองชาวอุซเบกิสถานและประธานาธิบดีแห่งอุซเบกิสถานคนแรกตั้งแต่ได้เอกราชจากสหภาพโซเวียต ก่อนดำรงตำแหน่งเขาเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม 1990 – 1 กันยายน 1991 และเลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอุซเบกิสถานซึ่งเป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐที่ปกครองอุซเบกิสถานโดยพฤตินัยในปี 1989 เขาเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประชาชนและประชาธิปไตยแห่งอุซเบกิสถาน (PDP) เขาเป็นหัวหน้าพรรคจนถึงปี 1996[2]

เขาใช้ระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จปกครองประเทศ มีการปราบปรามผู้เห็นต่างทางการเมือง ห้ามการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองอย่างเสรี และมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรง[3][4][5] ตัวอย่างการปราบปรามผู้เห็นต่างทางการเมืองที่ร้ายแรงในสมัยที่เขาดำรงตำแหน่งคือการสังหารหมู่ที่อันดือจอน พ.ศ. 2548 ซึ่งมีผู้เสียชีวิตถึง 1,500 ราย[6] เขาปกครองประเทศเรื่อยมาจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมจากโรคหลอดเลือดสมองเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2016 สิริอายุได้ 78 ปี[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Юртбаши умер – да здравствует юртбаши. Каримова сменит Мирзияев?". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2019. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
  2. Hierman, Brent (2016). Russia and Eurasia 2016-2017. The World Today Series, 47th edition. Lanham, MD: Rowman & Littlefield. ISBN 978-1-4758-2898-6. p. 314.
  3. "Uzbek Leader Islam Karimov Was A Dictator In The Classic Mould". Sky News (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 July 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-07-05.
  4. "Uzbekistan plunged into uncertainty by death of dictator Islam Karimov". the Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2016-09-02. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-07-05.
  5. Schenkkan, Nate. "Islam Karimov and the Dictator's Playbook". Foreign Policy (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 July 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-07-05.
  6. Donovan, Jeffrey (1 September 2008). "Former Uzbek Spy Accuses Government of Massacres, Seeks Asylum". RFE/RL. สืบค้นเมื่อ 7 April 2014.
  7. "Медицинское заключение о болезни и причине смерти Ислама Абдуганиевича Каримова" [Medical report on the illness and cause of death of Islam Karimov] (ภาษารัสเซีย). Government of the Republic of Uzbekistan. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 April 2018. สืบค้นเมื่อ 3 September 2016.
บรรณานุกรม
  • Bohr, Annette (1998). Uzbekistan: Politics and Foreign Policy. London: Royal Institute of International Affairs. ISBN 1-86203-081-2.
  • Schatz, Edward (2006). "Access by Accident: Legitimacy Claims and Democracy Promotion in Authoritarian Central Asia". International Political Science Review. 27 (3): 263–284. doi:10.1177/0192512106064463. JSTOR 20445055. S2CID 145546950.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]