อานเต ปาเวลิช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อานเต ปาเวลิช
ปาเวลิชในชุดเครื่องแบบอูสตาซีในปี ค.ศ.1942
โพกลาฟนิก(ผู้นำ)แห่งรัฐเอกราชโครเอเชีย
ดำรงตำแหน่ง
10 เมษายน 1941 – 8 พฤษภาคม 1945
กษัตริย์เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา (1941–1943)
นายกรัฐมนตรีตัวเขาเอง (1941–1943)
Nikola Mandić (1943–1945)
ก่อนหน้าตำแหน่งที่จัดตั้งขึ้น
ถัดไปตำแหน่งถูกยกเลิก
นายกรัฐมนตรีแห่งรัฐเอกราชโครเอเชีย 1st
ดำรงตำแหน่ง
16 เมษายน 1941 – 2 กันยายน 1943
กษัตริย์เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา
ก่อนหน้าตำแหน่งที่จัดตั้งขึ้น
ถัดไปNikola Mandić
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกองทัพของรัฐเอกราชโครเอเชีย 2nd
ดำรงตำแหน่ง
4 มกราคม 1943 – 2 กันยายน 1943
นายกรัฐมนตรีตัวเขาเอง
ก่อนหน้าSlavko Kvaternik
ถัดไปMiroslav Navratil
รัฐมนตรีต่างประเทศของรัฐเอกราชโครเอเชีย 1st
ดำรงตำแหน่ง
16 เมษายน 1941 – 9 มิถุนายน 1941
กษัตริย์เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา
นายกรัฐมนตรีตัวเขาเอง
ก่อนหน้าตำแหน่งที่จัดตั้งขึ้น
ถัดไปMladen Lorković
สมาชิกของ รัฐสภายูโกสลาเวีย
ดำรงตำแหน่ง
11 กันยายน 1927 – 7 มกราคม 1929
กษัตริย์สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย
นายกรัฐมนตรีVelimir Vukićević (1927–1928)
Anton Korošec (1928–1929)
เขตเลือกตั้งZagreb
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 กรกฎาคม ค.ศ. 1889(1889-07-14)
Bradina, Konjic, คอนโดของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต28 ธันวาคม ค.ศ. 1959(1959-12-28) (70 ปี)
กรุงมาดริด, สเปน
ที่ไว้ศพSan Isidro, กรุงมาดริด, สเปน
เชื้อชาติโครเอเชีย
พรรคการเมืองอูสตาซี (1929–1945)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
พรรคสิทธิ (1910–1929)
พรรคชาติโครเอเชีย (1950)
ขบวนการปลดปล่อยโครเอเชีย (1956–1959)
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยซาเกร็บ
อาชีพนักการเมือง
วิชาชีพทนายความ
ลายมือชื่อ

อานเต ปาเวลิช (เสียงอ่านภาษาโครเอเชีย: [ǎːnte pǎʋelit͡ɕ] ( ฟังเสียง); 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1889 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1959) เป็นนายพลชาวโครแอตและผู้นำเผด็จการทหารที่เป็นผู้ก่อตั้งและผู้นำขององค์กรพวกคลั่งชาติฟาสซิสต์ที่เป็นที่รู้จักกันคือ อูสตาซี ในปี ค.ศ. 1929 และได้เป็นผู้ปกครองแห่งรัฐเอกราชโครเอเชีย(Croatian: Nezavisna Država Hrvatska, NDH), รัฐหุ่นเชิดของนาซี-ฟาสซิสต์ที่ก่อตั้งขึ้นในยูโกสลาเวียโดยภายใต้อำนาจของนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1941 ถึง 1945 ปาเวลิชและเหล่าพวกอูสตาซีได้ประหัตรประหารชนกลุ่มน้อยเชื้อชาติและคู่แข่งทางการเมืองจำนวนมากในรัฐเอกราชโครเอเชียในช่วงสงคราม รวมทั้งชาวเซิร์บ ชาวยิว ชาวโรมานี และชาวโครแอตผู้ต่อต้านฟาสซิสต์[1][2][3]

อ้างอิง[แก้]

  1. Tomasevich 2001, pp. 351–352.
  2. Glenny 2001, pp. 497–500.
  3. Hoare 2006, pp. 20–24.