อันดับของขนาด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อันดับของขนาด (อังกฤษ: Order of magnitude) เขียนอยู่ในรูปของกำลังสิบ ตัวอย่างเช่น อันดับขนาดของเลข 1500 คือ 3 เพราะว่า 1500 สามารถเขียนอยู่ในรูปของ 1.5 × 103

ความแตกต่างของอันดับขนาดต้องวัดในระบบการวัดลอการิทึม (logarithmic scale) ใน "กลุ่มสิบ" (ตัวอย่างเช่น ตัวประกอบของสิบ)[1] ตัวอย่างของตัวเลขของขนาดต่าง ๆ พบได้ที่หน้าอันดับของขนาด (จำนวน)

การใช้[แก้]

อันดับของขนาดถูกใช้เพื่อประมาณการเปรียบเทียบ หากตัวเลขต่างกันหนึ่งอันดับขนาด แปลว่า x มีค่าแตกต่างจาก y ประมาณ 10 เท่า หากค่าแตกต่างจำนวนสองอันดับขนาด แปลว่าค่าแตกต่างกันจำนวนเท่ากับตัวประกอบของ 100 เลขสองตัวซึ่งมีอันดับขนาดเท่ากันนั้นอยู่ในระบบการวัดเดียวกันอย่างคล่าว ๆ  โดยเลขตัวที่ใหญ่กว่านั้นแตกต่างกับเลขที่เล็กกว่าไม่ถึงสิบเท่า 

อุปสรรค สัญลักษณ์ เลขฐานสิบ กำลัง
 สิบ
อันดับ 
ของขนาด
ยอคโต (yocto) y 0.000,000,000,000,000,000,000,001 10−24 −24
เซปโต (zepto) z 0.000,000,000,000,000,000,001 10−21 −21
อัตโต (atto) a 0.000,000,000,000,000,001 10−18 −18
เฟมโต (femto) f 0.000,000,000,000,001 10−15 −15
พิโก (pico) p 0.000,000,000,001 10−12 −12
นาโน (nano) n 0.000,000,001 10−9 −9
ไมโคร (micro) (µ) 0.000,001 10−6 −6
มิลลิ (milli) m 0.001 10−3 −3
เซนติ (centi) c 0.01 10−2 −2
เดซิ (deci) d 0.1 10−1 −1
1 100 0
เดคา (deca) D หรือ da 10 101 1
เฮกโต (hecto) h 100 102 2
กิโล (kilo) k 1,000 103 3
เมกะ (mega) M 1,000,000 106 6
จิกะ (giga) G 1,000,000,000 109 9
เทระ (tera) T 1,000,000,000,000 1012 12
เพตะ (peta) P 1,000,000,000,000,000 1015 15
เอกซะ (exa) E 1,000,000,000,000,000,000 1018 18
เซตตะ (zetta) Z 1,000,000,000,000,000,000,000 1021 21
ยอตตะ (yotta) Y 1,000,000,000,000,000,000,000,000 1024 24

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Brians, Paus. "Orders of Magnitude". สืบค้นเมื่อ 9 May 2013.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]