สกา (แนวดนตรี)
หน้าตา
สกา | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ |
|
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | ปลายทศวรรษ 1950 ในประเทศจาเมกา |
เครื่องบรรเลงสามัญ | |
รูปแบบอนุพันธุ์ |
|
แนวประสาน | |
| |
ทัศนียภาพในระดับภูมิภาค | |
หัวข้ออื่น ๆ | |
สกา (อังกฤษ: ska) เป็นแนวเพลงที่เกิดในประเทศจาเมกา ช่วงปลายทศวรรษที่ 50 ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็นร็อกสเตดดีและเร็กเก[1]
เพลงสกา เป็นการรวมองค์ประกอบเพลงแถบแคริบเบียนอย่างเมนโตและคาลิปโซเข้ากับ แจ๊สและอาร์แอนด์บีจากสหรัฐอเมริกา มีลักษณะพิเศษตรงไลน์เบส สำเนียงกีตาร์ และจังหวะเปียโนที่แตกต่างกัน[2] สิ่งที่โดดเด่นอีกอย่างคือมีการใช้เครื่องเป่าทองเหลือง เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ทรอมโบน เป็นต้น
ในทศวรรษที่ 60 สกามีความหมายถึงแนวดนตรีของ Rudeboy ในสหราชอาณาจักร สกาได้รับความนิยมในกลุ่มม็อดและสกินเฮด[3][4][5][6] มีวงดังอย่าง Symarip, Laurel Aitken, Desmond Dekker และ The Pioneers เป็นต้น
ดูเพิ่ม
[แก้]วงสกาในประเทศไทย
[แก้]- ทีโบน
- skala
- สกาแล็กซี่
- สกาเบอรรี
- ปั๊ปป้า สกาแบนด์
- เท็ดดี้ สกา
- Kai-jo Barthers
- OK Mocca (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น Mocca Garden)
- Bomberman
- ดีปโอซี
- จ๊อบ บรรจบ
- คณะมโหรีดนตรีสกา The Superglasses ska ensomble
- Mayura Ska Gangster
*Ska Chance
อ้างอิง
[แก้]- Ska Allmusic.com
- ↑ "Ska". Encyclopædia Britannica. Hussey Dermot. pp. http://www.search.eb.com/eb/article–9118222.
- ↑ AllMusic (2007). "Ska Revival" (Web). Genre Listing. AllMusic. สืบค้นเมื่อ 2007-02-02.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Brown, Timothy S. (2004). "Subcultures, pop music and politics: skinheads and "Nazi rock" in England and Germany". Journal of Social History. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-28.
- ↑ "Smiling Smash: An Interview with Cathal Smyth, a.k.a Chas Smash, of Madness - Ska/Reggae - 08/16/99". Web.archive.org. 2001-02-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 19, 2001. สืบค้นเมื่อ 2011-10-28.
- ↑ Marshall, George (1991). Spirit of '69 - A Skinhead Bible. Dunoon, Scotland: S.T. Publishing. ISBN 1-898927-10-3)
- ↑ "Inspecter 7". Montrealmirror.com. 1998-01-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2002-06-26. สืบค้นเมื่อ 2011-10-28.