วัฒนธรรมแคนเซิล
วัฒนธรรมแคนเซิล หรือ วัฒนธรรมคอลเอาต์ เป็นการขับออกจากสังคม (ostracism) แบบสมัยใหม่ ซึ่งมีการผลักไสบุคคลออกจากแวดวงสังคมหรือวิชาชีพ โดยอาจเป็นแบบออนไลน์ บนสื่อสังคม หรือส่วนบุคคล ซึ่งบุคคลที่ถูกขับออกจากสังคมในลักษณะนี้จะเรียกว่า "ถูกแคนเซิล" (cancelled)[2]
แนวคิดของวัฒนธรรมแคนเซิลเป็นลักษณะหนึ่งของวัฒนธรรมคอลเอาต์ ซึ่งเป็นการคว่ำบาตร (boycotting) รูปแบบหนึ่งต่อบุคคล (ซึ่งปกติเป็นผู้มีชื่อเสียง) ที่ได้กระทำหรือพูดในเชิงที่น่าตั้งคำถามหรือเป็นที่ถกเถียง[3][4][5][6]
ผู้ที่ถูกแคนเซิลอาจทำให้เสียชื่อเสียงและรายได้อย่างกู้คืนได้ยาก[7]
คำนี้มักใช้ในความหมายเชิงลบ และมักใช้ในการถกเถียงเกี่ยวกับเสรีภาพในการพูดและการตรวจพิจารณา[8][9] อดีตประธานาธิบดีสหรัฐ บารัก โอบามา กล่าวว่า "คนทำสิ่งดี ๆ ก็มีข้อบกพร่องได้"[10] และดอนัลด์ ทรัมป์ อ้างว่า วัฒนธรรมนี้ไม่ต่างจากเผด็จการเบ็ดเสร็จ คือใช้เป็นอาวุธทางการเมืองเพื่อลงโทษและทำให้บุคคลอับอาย ตลอดจนหวังให้เขายอมจำนน[11]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Schocket, Ryan. "13 Celebs Who Were Actually Canceled In 2020". BuzzFeed (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 4 March 2021.
- ↑ McDermott, John (November 2, 2019). "Those People We Tried to Cancel? They're All Hanging Out Together". The New York Times. สืบค้นเมื่อ August 3, 2020.
- ↑ Sills, Sophie; Pickens, Chelsea; Beach, Karishma; Jones, Lloyd; Calder-Dawe, Octavia; Benton-Greig, Paulette; Gavey, Nicola (March 23, 2016). "Rape culture and social media: young critics and a feminist counterpublic". Feminist Media Studies. 16 (6): 935–951. doi:10.1080/14680777.2015.1137962. S2CID 147023782.
- ↑ Munro, Ealasaid (August 23, 2013). "Feminism: A Fourth Wave?". Political Insight. 4 (2): 22–25. doi:10.1111/2041-9066.12021. S2CID 142990260. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 10, 2019. สืบค้นเมื่อ April 29, 2020.
- ↑ Yar, Sanam; Bromwich, Jonah Engel (October 31, 2019). "Tales From the Teenage Cancel Culture". The New York Times. ISSN 0362-4331. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 1, 2020. สืบค้นเมื่อ July 4, 2020.
- ↑ Bromwich, Jonah Engel (June 28, 2018). "Everyone Is Canceled". The New York Times. ISSN 0362-4331. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 13, 2019. สืบค้นเมื่อ July 4, 2020.
- ↑ "What is the cost of 'cancel culture'?". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2020-10-08. สืบค้นเมื่อ 2021-01-06.
- ↑ Brown, Dalvin. "Twitter's cancel culture: A force for good or a digital witchhunt? The answer is complicated". USA TODAY (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 24, 2020. สืบค้นเมื่อ July 24, 2020.
- ↑ "Where Did Cancel Culture Come From?". Dictionary.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 30, 2020. สืบค้นเมื่อ July 28, 2020.
- ↑ "Obama laid into young people being 'politically woke' and 'as judgmental as possible' in a speech about call-out culture". Business Insider. October 30, 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 23, 2020. สืบค้นเมื่อ July 23, 2020.
- ↑ Daniel Dale. "A list of people and things Donald Trump tried to get canceled before he railed against 'cancel culture'". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 28, 2020. สืบค้นเมื่อ August 1, 2020.