วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก 2016
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
วันที่18–23 ตุลาคม
ทีม8
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา (สมัยที่ 2)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าเซอร์เบีย ตียานา บอชคอวิช (เอจซาจือบาซือ วีตรา)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
clubworldchampionships.2016.women.fivb.com/en

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์สโมสรโลก 2016 (อังกฤษ: 2016 FIVB Volleyball Women's Club World Championship) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรโลกครั้งที่ 10 และเป็นครั้งแรกที่จัดขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์ โดยจัดขึ้น ณ ปาไซ, ประเทศฟิลิปปินส์ ระหว่างวันที่ 18–23 ตุลาคม ค.ศ. 2016[1]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก[แก้]

ทีม[2] ผ่านการคัดเลือกในฐานะ
ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา เจ้าภาพ
อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร ชิงแชมป์สโมสรยุโรป 2016
ไทย บางกอกกล๊าส ชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 2015
บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ ชิงแชมป์สโมสรอเมริกาใต้ 2016
ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา[3] ไวลด์การ์ด
สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช[4]
ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล[5]
ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์

การแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A กลุ่ม B
อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร ไทย บางกอกกล๊าส
บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล
ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช
ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์

สนามแข่งขัน[แก้]

ทุกรอบ
ฟิลิปปินส์ ปาไซ, ฟิลิปปินส์
มอลล์ออฟเอเชียอารีนา
ความจุ: 20,000

การตัดสินลำดับจากผลการแข่งขัน[แก้]

ในการแข่งขันหากผลว่ามีผลเท่ากันจะตัดสินตามลำดับดังนี้

  1. จำนวนครั้งที่ชนะ
  2. อัตราส่วนคะแนนที่ทำได้ในแมชท์ต่อคะแนนที่เสีย
  3. อัตราส่วนเซตที่ชนะต่อแพ้
  4. คะแนน
  5. ผลการแข่งขันจากแมชท์สุดท้ายของทีมที่ทำการแข่งขันด้วยซึ่งเป็นทีมเดียวกัน

แมทช์ที่แข่งขัน 3–0 หรือ 3–1 ทีมที่ชนะจะได้ 3 คะแนน ทีมที่แพ้ได้ 0 คะแนน ส่วนแมทช์ที่แช่งขัน 3–2 ทีมที่ชนะจะได้ 2 คะแนน ทีมที่แพ้ได้ 1 คะแนน

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
ผ่านเข้าสู่รอบจัดอันดับ 5–8

กลุ่ม A[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา 3 0 8 9 3 3.000 285 223 1.278
2 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร 2 1 5 6 5 1.200 229 236 0.970
3 บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ 1 2 5 7 6 1.167 281 264 1.064
4 ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา 0 3 0 1 9 0.111 176 248 0.710
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
18 ต.ค. 16:30 โปมิ กาซัลมัจจีโอเร อิตาลี 0–3 ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา 17–25 18–25 15–25     50–75 P2 P3
18 ต.ค. 19:30 พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา ฟิลิปปินส์ 0–3 บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ 15–25 13–25 20–25     48–75 P2 P3
19 ต.ค. 19:30 โปมิ กาซัลมัจจีโอเร อิตาลี 3–2 บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ 17–25 25–20 25–20 19–25 18–16 104–106 P2 P3
20 ต.ค. 13:00 เรโชนา-เซซ รีโอ บราซิล 2–3 ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา 27–25 19–25 25–22 18–25 11–15 100–112 P2 P3
20 ต.ค. 19:30 พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา ฟิลิปปินส์ 0–3 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร 19–25 15–25 21–25     55–75 P2 P3
21 ต.ค. 19:00 พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา ฟิลิปปินส์ 1–3 ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา 17–25 17–25 25–23 14–25   73–98 P2 P3

กลุ่ม B[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช 3 0 8 9 2 4.500 246 225 1.093
2 ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล 2 1 7 8 4 2.000 290 235 1.234
3 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ 1 2 3 4 6 0.667 205 231 0.887
4 ไทย บางกอกกล๊าส 0 3 0 0 9 0.000 175 225 0.778
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
18 ต.ค. 10:00 วาคึฟบังค์อิสตันบูล ตุรกี 3–1 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ 25–15 25–15 29–31 25–18   104–79 P2 P3
18 ต.ค. 13:00 โวเลโรซือริช สวิตเซอร์แลนด์ 3–0 ไทย บางกอกกล๊าส 25–21 25–19 25–23     75–63 P2 P3
19 ต.ค. 16:30 โวเลโรซือริช สวิตเซอร์แลนด์ 3–0 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ 25–19 25–15 25–17     75–51 P2 P3
20 ต.ค. 10:00 บางกอกกล๊าส ไทย 0–3 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ 14–25 18–25 20–25     52–75 P2 P3
20 ต.ค. 16:30 โวเลโรซือริช สวิตเซอร์แลนด์ 3–2 ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล 25–22 27–25 16–25 12–25 16–14 96–111 P2 P3
21 ต.ค. 16:00 วาคึฟบังค์อิสตันบูล ตุรกี 3–0 ไทย บางกอกกล๊าส 25–19 25–23 25–18     75–60 P2 P3

รอบจัดอันดับ 5–8[แก้]

  รอบจัดอันดับ 5–8 รอบชิงอันดับที่ 5
22 ตุลาคม – ปาไซ
 บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ  3  
 ไทย บางกอกกล๊าส  0  
 
23 ตุลาคม – ปาไซ
     บราซิล เรโชนา-เซซ รีโอ  3
   ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์  2
รอบชิงอันดับที่ 7
22 ตุลาคม – ปาไซ 23 ตุลาคม – ปาไซ
 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์  3  ไทย บางกอกกล๊าส  3
 ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล มะนิลา  0    ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล มะนิลา  0

รอบจัดอันดับ 5–8[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
22 ต.ค. 10:00 เรโชนา-เซซ รีโอ บราซิล 3–0 ไทย บางกอกกล๊าส 25–19 25–15 25–20     75–54 P2 P3
22 ต.ค. 16:30 ฮิซะมิสึสปริงส์ ญี่ปุ่น 3–0 ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา 25–15 25–18 25–21     75–54 P2 P3

รอบชิงอันดับที่ 7[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 ต.ค. 16:00 บางกอกกล๊าส ไทย 3–0 ฟิลิปปินส์ พีเอสแอล-เอฟ2 โลจิสติกส์ มะนิลา 25–16 25–23 25–20     75–59 P2 P3

รอบชิงอันดับที่ 5[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 ต.ค. 10:00 เรโชนา-เซซ รีโอ บราซิล 3–2 ญี่ปุ่น ฮิซะมิสึสปริงส์ 20–25 25–22 25–15 30–32 15–7 115–101 P2 P3

รอบสุดท้าย[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
22 ตุลาคม – ปาไซ
 ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา  3  
 ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล  1  
 
23 ตุลาคม – ปาไซ
     ตุรกี เอจซาจือบาซือ วีตรา  3
   อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร  2
รอบชิงอันดับที่ 3
22 ตุลาคม – ปาไซ 24 ตุลาคม – ปาไซ
 สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช  1  ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล  3
 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร  3    สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช  1

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
22 ต.ค. 13:00 เอจซาจือบาซือ วีตรา ตุรกี 3–1 ตุรกี วาคึฟบังค์อิสตันบูล 25–23 19–25 25–17 25–23   94–88 P2 P3
22 ต.ค. 19:30 โวเลโรซือริช สวิตเซอร์แลนด์ 1–3 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร 27–25 23–25 17–25 23–25   90–100 P2 P3

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 ต.ค. 13:00 วาคึฟบังค์อิสตันบูล ตุรกี 3–1 สวิตเซอร์แลนด์ โวเลโรซือริช 25–14 21–25 25–22 25–11   96–72 P2 P3

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
23 ต.ค. 19:00 เอจซาจือบาซือ วีตรา ตุรกี 3–2 อิตาลี โปมิ กาซัลมัจจีโอเร 25–19 20–25 25–19 22–25 15–11 107–99 P2 P3

อันดับการแข่งขัน[แก้]

รางวัล[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. FIVB (8 May 2016). "News detail - Philippines to host its first-ever Women's Club World Championship - FIVB Volleyball Women's Club World Championship 2016". fivb.com. สืบค้นเมื่อ 11 August 2016.
  2. "Qualification". FIVB Volleyball Women’s Club World Championship 2016. สืบค้นเมื่อ 12 October 2016.
  3. "Eczacibasi Vitra Istanbul Named as Women's Club Championship Wild Card". FIVB Volleyball Women's Club World Championship 2016. FIVB. 16 June 2016. สืบค้นเมื่อ 18 June 2016.
  4. "Volero Zürich Awarded Wild Card For Women's Club World Championship". FIVB Volleyball Women's Club World Championship 2016. FIVB. 21 June 2016. สืบค้นเมื่อ 22 June 2016.
  5. "VakıfBank bir kez daha dünyanın en büyüğü olmaya aday" (ภาษาตุรกี). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-06. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]