ลูกาโน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลูกาโน
ตราราชการของลูกาโน
ตราอาร์ม
ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์
รัฐตีชีโน
เขตลูกาโน
การปกครอง
 • ผู้บริหารเทศบาล
สมาชิก 7 คน
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด75 ตร.กม. (29 ตร.ไมล์)
ความสูง273 เมตร (896 ฟุต)
ประชากร
 (ธ.ค. 2015[2])
 • ทั้งหมด63,583 คน
 • ความหนาแน่น850 คน/ตร.กม. (2,200 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ตั้งแต่ 6900 ถึง 6917, 6932, 6951, 6959, ตั้งแต่ 6962 ถึง 6968, ตั้งแต่ 6974 ถึง 6979
เลข SFOS5192
เว็บไซต์www.lugano.ch

ลูกาโน (อิตาลี: Lugano) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐตีชีโน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่บริเวณพรมแดนตินกับประเทศอิตาลี ประชากรในเมืองจึงใช้ภาษาอิตาลีเป็นหลัก และถือเป็นชุมชนภาษาอิตาลีที่ใหญ่ที่สุดนอกประเทศอิตาลี เมืองลูกาโนเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ท่ามกลางหุบเขา ทางตะวันออกของเมืองติดกับทะเลสาบลูกาโน ในอดีตเมืองแห่งนี้เคยเป็นเมืองหลวงของรัฐลูกาโน ซึ่งเคยดำรงอยู่ระหว่างปี 1798–1803

ในปัจจุบัน ลูกาโนถือเป็นศูนย์กลางทางการเงินที่ใหญ่อันดับสามของสวิตเซอร์แลนด์รองจากซือริชและเจนีวา[3] พื้นที่ราว 10% ของเมืองนี้ใช้ทำการเกษตร, 21.0% ใช้ทำการป่าไม้, 14.0% เป็นบ้านเรือนและถนนหนทาง ในปี 2016 สวิตเซอร์แลนด์ได้เปิดใช้งานอุโมงค์ฐานก็อทฮาร์ท อุโมงค์สัญจรที่ยาวที่สุดในโลก[4] ซึ่งช่วยลดระยะเวลาการเดินทางระหว่างซือริชกับลูกาโนเหลือเพียง 1 ชั่วโมง 40 นาที[4]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของลูกาโน (ค.ศ. 1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.6
(43.9)
8.5
(47.3)
13.0
(55.4)
15.8
(60.4)
20.2
(68.4)
24.2
(75.6)
26.9
(80.4)
26.1
(79)
21.7
(71.1)
16.7
(62.1)
11.3
(52.3)
7.4
(45.3)
16.5
(61.7)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 3.3
(37.9)
4.5
(40.1)
8.3
(46.9)
11.4
(52.5)
15.7
(60.3)
19.6
(67.3)
22.1
(71.8)
21.5
(70.7)
17.5
(63.5)
13.0
(55.4)
7.9
(46.2)
4.3
(39.7)
12.4
(54.3)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 0.8
(33.4)
1.6
(34.9)
4.9
(40.8)
7.9
(46.2)
12.1
(53.8)
15.4
(59.7)
17.8
(64)
17.4
(63.3)
13.9
(57)
10.0
(50)
5.1
(41.2)
1.7
(35.1)
9.1
(48.4)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 66
(2.6)
52
(2.05)
80
(3.15)
156
(6.14)
196
(7.72)
164
(6.46)
153
(6.02)
158
(6.22)
185
(7.28)
142
(5.59)
127
(5)
80
(3.15)
1,559
(61.38)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 12.7
(5)
3.5
(1.38)
0.5
(0.2)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.0
(0)
0.6
(0.24)
8.8
(3.46)
26.1
(10.28)
ความชื้นร้อยละ 70 65 61 68 70 68 66 69 73 78 72 70 69
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 4.8 4.6 6.1 10.6 12.8 10.0 7.9 9.6 8.4 9.1 7.8 6.4 98.1
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 cm) 1.1 0.9 0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 1.3 3.7
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 125 138 186 171 187 222 255 241 187 140 110 108 2,069
แหล่งที่มา: MeteoSwiss[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. Arealstatistik Standard - Gemeindedaten nach 4 Hauptbereichen
  2. Swiss Federal Statistical Office - STAT-TAB, online database – Ständige und nichtständige Wohnbevölkerung nach institutionellen Gliederungen, Geburtsort und Staatsangehörigkeit (เยอรมัน) accessed 30 August 2016
  3. "Far Right Party's Ad Campaign Draws Criticism in Switzerland". NYTimes.com. สืบค้นเมื่อ 13 November 2014.
  4. 4.0 4.1 "Alp Transit 2016: verso nuovi equilibri territoriali" (PDF) (ภาษาอิตาลี). Portal of Canton Ticino. 2006-10-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-07. สืบค้นเมื่อ 8 July 2009.
  5. "Climate normals Lugano (Reference period 1981−2010)" (PDF). Zürich-Airport, Switzerland: Swiss Federal Office of Metreology and Climatology, MeteoSwiss. 2 July 2014. สืบค้นเมื่อ 2015-04-03.