ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อประธานาธิบดีโซมาเลีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือ รายชื่อประธานาธิบดีโซมาเลีย ตั้งแต่สถาปนาตำแหน่งในปี 2503 มีผู้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการมาแล้วจำนวน 9 คน ประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐของโซมาเลียและเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพโซมาเลีย ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบันคือ ฮัสซัน ชีค โมฮามุด ซึ่งได้รับเลือกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2565 ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งนี้มาแล้ว โดยได้รับเลือกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2555 และดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2555–2560

รายชื่อประธานาธิบดี

[แก้]
ลำดับที่ รายนาม
(เกิด–ถึงแก่กรรม)
รูป เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ พรรคการเมือง
สาธารณรัฐโซมาลี
1 เอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์
(2471–2550)
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 สันนิบาติเยาวชนโซมาลี
2 อับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี
(2462–2512)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2510 15 ตุลาคม พ.ศ. 2512[1] สันนิบาติเยาวชนโซมาลี
ชีค มุคฮ์ทาร์ โมฮัมเหม็ด ฮัสซิน
(รักษาการ)
(2455–2555)
15 ตุลาคม พ.ศ. 2512 21 ตุลาคม พ.ศ. 2512[2] สันนิบาติเยาวชนโซมาลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี
3 โมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รี
(2462–2538)
21 ตุลาคม พ.ศ. 2512 26 มกราคม พ.ศ. 2534[3] ทหาร /
พรรคสังคมนิยมปฏิวัติโซมาลี
สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
4 อาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัด[4]
(2481– )
27 มกราคม พ.ศ. 2534 3 มกราคม พ.ศ. 2540 คองเกรสสหโซมาลี
ว่าง (3 มกราคม พ.ศ. 2540–27 สิงหาคม พ.ศ. 2543)[5]
รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ
5 อับดิคาซิม ซาลาด ฮัสซัน
(2484– )
27 สิงหาคม พ.ศ. 2543 14 ตุลาคม พ.ศ. 2547 อิสระ
รัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่าน
6 อับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด
(2477–2555)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2547 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551[6] อิสระ
อดาน โมฮัมเหม็ด นูร์ มาโดเบ
(รักษาการ)
(2500– )
29 ธันวาคม พ.ศ. 2551 31 มกราคม พ.ศ. 2552 กองทัพต่อต้านราฮานเวน
7 ชารีฟ ชีค อาห์เหม็ด
(2510– )
31 มกราคม พ.ศ. 2552 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 พันธมิตรเพื่อการปลดปล่อยแห่งโซมาเลีย
สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย
มูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเล
(รักษาการ)
(2483– )
20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555[7] อิสระ
โมฮัมเหม็ด ออสมาน จาวารี
(รักษาการ)
(2488– 2567)
28 สิงหาคม พ.ศ. 2555 16 กันยายน พ.ศ. 2555 อิสระ
8 ฮัสซัน ชีค โมฮามุด
(2498– )
16 กันยายน พ.ศ. 2555 ยังอยู่ในตำแหน่ง พรรคสันติภาพและพัฒนาการ

การเลือกตั้งครั้งล่าสุด

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ลอบสังหาร
  2. ปลดโดยไซอัด บาร์รี
  3. ปลดในสงครามกลางเมืองโซมาเลีย
  4. From November 1991 to 1995, Ali Mahdi Muhammad enjoyed recognition as President in the international community following the 1991 Djibouti conference: "at the second Djibouti conference (Aideed boycotted the first) held between 15 and 21 July 1991, Ali Mahdi was elected interim President of Somalia for a period of two years[...] Because of the legitimacy conferred on Ali Mahdi by the Djibouti conference, his government was recognized by several countries, including Djibouti, Egypt, Italy, and Saudi Arabia"; c.f. [1] เก็บถาวร 2012-03-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  5. In the second half of the 1990s, different faction leaders vied for the Presidency, with none receiving international recognition. General Mohamed Farrah Aidid claimed to be President from 15 June 1995 to his death on 1 August 1996, followed by his son Hussein Farrah Aidid from 2 August 1996 to 20 March 1998.
  6. ลาออก
  7. From 20 August 2012 to 28 August 2012, Muse Hassan Abdulle served as acting Speaker of the Parliament, and as such, as acting President while elections for a new Speaker and President were forthcoming. Per Article 95 of the provisional constitution เก็บถาวร 2013-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: "If the Office of the President of the Federal Republic of Somalia falls vacant, the Speaker of the House of the People of the Federal Parliament shall act as President of the Federal Republic until such time as a new President of the Federal Republic is elected, within a maximum of thirty (30) days."; also c.f. Rulers.org – August 2012, [2].

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]