มีดโกน (ปรัชญา)
หน้าตา
ในสาขาปรัชญา มีดโกน (อังกฤษ: razor) เป็นหลักการช่วยให้คัด (โกน) เอาคำอธิบายปรากฏการณ์ที่ไม่น่าจะใช่ออก[1] ซึ่งอาจรวม
- มีดโกนอ็อกคัม - เมื่อมีสมมติฐานที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ได้หลายอย่าง ให้เลือกที่มีข้อสมมุติน้อยสุด ไม่ควรตั้ง/สร้าง/สมมุติอะไรโดยไม่จำเป็น
- มีดโกนของไกรซ์ เป็นหลักเลือกเอาความหมายที่คู่สนทนาบอกเป็นนัยหรือพูดพาดพิงแต่ไม่ได้กล่าวตรง ๆ แทนที่จะเอาความหมายจากบทโดยตรง[2][3]
- มีดโกนของฮานลอน - ไม่ควรระบุว่าเป็นการมุ่งร้ายถ้าสามารถอธิบายได้ว่าเป็นความเขลา[4]
- มีดโกนของฮิวม์ - "ถ้าเหตุที่ยกเพื่อมุ่งอธิบายผลไม่พอก่อผล เราก็จะต้องปฏิเสธเหตุนั้น หรือเติมอะไรบางอย่างที่จะก่อผลนั้นได้อย่างสมสัดส่วน"[5][6]
- มีดโกนของฮิตเชนส์ - "สิ่งที่อ้างโดยไร้หลักฐานก็สามารถทิ้งไปได้โดยไร้หลักฐาน"
- มีดโกนของอัลเดอร์ หรือ Newton's flaming laser sword - ถ้าประเด็นไม่สามารถยุติได้โดยทำการทดลองหรือสังเกตการณ์ ก็ไม่มีค่าพอที่จะเอามาโต้แย้งกัน
- การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ - ทฤษฎีจะเป็นวิทยาศาสตร์ได้ก็ต่อเมื่อพิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ Garg, A (2010-05-17). "Occam's razor". A.Word.A.Day.
{{cite web}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑ "Grice's razor". 2007. doi:10.1111/j.1467-9973.2007.00512.x.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ "Implicature, 5. Gricean Theory". Stanford Encyclopedia of Philosophy. สืบค้นเมื่อ 2016-12-27.
- ↑ "Hanlon's Razor". The Jargon File 4.4.7. สืบค้นเมื่อ 2014-02-25.
- ↑
Miles, M (2003). Inroads: Paths in Ancient and Modern Western Philosophy. University of Toronto Press. pp. 543. ISBN 978-0802037442.
{{cite book}}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์) - ↑
Forrest, P (2001). Counting the cost of modal realism. Reality and Humean Supervenience: Essays on the Philosophy of David Lewis. Studies in Epistemology and Cognitive Theory. Rowman & Littlefield. p. 93. ISBN 978-0742512016.
{{cite book}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) (help)CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)