ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาสกอต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สกอต
ภาษาสกอตที่ราบต่ำ/ที่ลุ่ม
(เบรด) สกอตส์, ลัลลันส์ (มาจาก "โลว์แลนด์")
ประเทศที่มีการพูดสหราชอาณาจักร, สาธารณรัฐไอร์แลนด์
ภูมิภาคสกอตแลนด์: พื้นที่ราบสก็อตแลนด์, นอร์ธเทอร์นไอล์ส, อัลสเตอร์ (ไอร์แลนด์)
ชาติพันธุ์ชาวสกอต
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (110,000–125,000 อ้างถึง1999–2011)[1][ต้องการอ้างอิง]
1.5 ล้าน (ไม่ระบุวันที่)[2]
ในการสำรวจสำมะโนครัว ปี 2011, ผู้ได้รับสำรวจ 30% (1.54 ล้าน) ระบุว่าสามารถพูดภาษาสกอตได้[3]
ตระกูลภาษา
รูปแบบก่อนหน้า
ภาษาถิ่น
ระบบการเขียนLatin
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการไม่มี
— ได้รับการจัดให้เป็น "ภาษาดั้งเดิม" โดยรัฐบาลสกอต
— ได้รับการจัดให้เป็น "ภาษาของชนกลุ่มน้อยท้องถิ่น" ตามกฎบัตรยุโรปว่าด้วยภาษาท้องถิ่นหรือภาษาชนกลุ่มน้อย
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองในสหราชอาณาจักร (สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ)
ผู้วางระเบียบสกอตแลนด์: ไม่มี
รหัสภาษา
ISO 639-2sco
ISO 639-3sco
Linguasphere52-ABA-aa (varieties:
52-ABA-aaa to -aav)
Areas where the Scots language was spoken in the 20th century[4][5]

ภาษาสกอต เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ที่ใช้พูดกันในแถบพื้นที่ราบของสกอตแลนด์ และในพื้นที่อัลสเตอร์ (ซึ่งเรียกสำเนียงท้องถิ่นว่าอัลสเตอร์สกอต ชาวสกอตมักเรียกภาษานี้ว่า สกอตที่ราบต่ำ เพื่อไม่ให้สับสนกับภาษาแกลิกสกอต และภาษาเคลต์ซึ่งถูกจำกัดพื้นที่การใช้ตามประวัติศาสตร์ในแถบพื้นที่ราบสูงของสกอตแลนด์ ภาษาสกอตถูกพัฒนาขึ้นในสมัยเดียวกับภาษาอังกฤษสมัยกลาง

นับแต่ต้นศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสกอตแลนด์ได้มีวิวัฒนาการ จนกลายเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์แตกต่างจากภาษาอังกฤษและภาษาท้องถิ่นอื่น ๆ ที่พูดกันในอังกฤษ หากแต่ยังขาดชื่อเรียก แต่หลังจาก ปี ค.ศ. 1495 เป็นต้นมา คำว่า สกอตติช (Scottis) ถูกใช้มากขึ้นเพื่ออ้างถึงภาษาพูดในถิ่นที่ลุ่ม ในขณะที่คำว่า Erse ซึ่งแปลว่า ไอริช ถูกใช้เป็นชื่อเรียกภาษาแกลิค ฯ ยกตัวอย่างเช่น ในตอนปลายศตวรรษที่ 15 วิลเลียม ดันบาร์ กวีชาวสกอต ใช้คำว่า Erse เพื่ออ้างถึงภาษาแกลิคและในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 กาวิน ดักลาส เริ่มใช้คำว่า Scottis เพื่ออ้างอิงถึงภาษาถิ่นที่ราบลุ่ม ปัจจุบันภาษาแกลิกของสกอตแลนด์มักถูกเรียกว่า ภาษาแกลิก-สกอต หรือ ภาษาแกลิกสกอตแลนด์

อ้างอิง

[แก้]
  1. 7% of the population (100,000–115,000) report using Scots at home in the 2011 census; 10,000 speakers in Ireland are reported by Ethnologue
  2. Scots[ลิงก์เสีย] ที่ Ethnologue (14th ed., 2000).
  3. Scotland's Census 2011 – Scots language skills
  4. Grant, William (1931). "Map 2". Scottish National Dictionary. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 January 2012.
  5. Gregg R.J. (1972) The Scotch-Irish Dialect Boundaries in Ulster in Wakelin M.F., Patterns in the Folk Speech of The British Isles, London