ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป
หน้าตา
โล้โก้ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป | |
ก่อตั้ง | 1996 |
---|---|
ภูมิภาค | ยุโรป (ยูฟ่า) |
จำนวนทีม | 46 (รอบคัดเลือก) 12 (รอบสุดท้าย) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | โปรตุเกส (1st title) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | สเปน (7 titles) |
ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป 2018 |
ฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรป (อังกฤษ: UEFA Futsal Championship) หรือ ยูฟ่า ฟุตซอลแชมป์เปี้ยนชิพเป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ยุโรปประเภททีมชาติ โดยแข่งกัน 12 ทีมชาติ 4 กลุ่ม และเป็นการแข่งแพ้คัดออก
การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นที่ประเทศสเปนในปี 1996 ซึ่งในขณะนั้นมีทีมเข้าแข่งขันเพีบง 6ทีม และเพิ่มมาเป็น 8ทีมในปี1999 และเพิ่มเป็น 12ทีมในปี2010และมีการคาดการณ์ว่าหลังจากการแข่งขันในปี 2018 จะเพิ่มเป็น16 ทีมและจะเปลี่ยนเป็นการจัด4ปีครั้งซึ่งจะเริ่มครั้งแรกในปี 2022 เนื่องจากในปี 2020จะไม่มีการแข่งขันเพราะมีการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2020 [1]
ผลการแข่งขัน
[แก้]ปี | เจ้าภาพ | ชิงชนะเลิศ | ชิงอันดับ 3 | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | ผลการแข่งขัน | อันดับ 2 | อันดับ 3 | ผลการแข่งขัน | อันดับ 4 | ||
1996 รายละเอียด |
สเปน |
สเปน |
5–3 | รัสเซีย |
เบลเยียม |
3–2 (ต่อเวลา) |
อิตาลี |
1999 รายละเอียด |
สเปน |
รัสเซีย |
3–3 (ต่อเวลา) 4–2 แม่แบบ:Pen. |
สเปน |
อิตาลี |
3–0 | เนเธอร์แลนด์ |
2001 รายละเอียด |
รัสเซีย |
สเปน |
2–1 (ต่อเวลา) |
ยูเครน |
รัสเซีย |
2–1 (ต่อเวลา) |
อิตาลี |
2003 รายละเอียด |
อิตาลี |
อิตาลี |
1–0 | ยูเครน |
สเปน และ เช็กเกีย | ||
2005 รายละเอียด |
เช็กเกีย |
สเปน |
2–1 | รัสเซีย |
อิตาลี |
3–1 | ยูเครน |
2007 รายละเอียด |
โปรตุเกส |
สเปน |
3–1 | อิตาลี |
รัสเซีย |
3–2 | โปรตุเกส |
2010 รายละเอียด |
ฮังการี |
สเปน |
4–2 | โปรตุเกส |
เช็กเกีย |
5–3 | อาเซอร์ไบจาน |
2012 รายละเอียด |
โครเอเชีย |
สเปน |
3–1 (ต่อเวลา) |
รัสเซีย |
อิตาลี |
3–1 | โครเอเชีย |
2014 รายละเอียด |
เบลเยียม |
อิตาลี |
3–1 | รัสเซีย |
สเปน |
8–4 | โปรตุเกส |
2016 รายละเอียด |
เซอร์เบีย |
สเปน |
7–3 | รัสเซีย |
คาซัคสถาน |
5–2 | เซอร์เบีย |
2018 รายละเอียด |
สโลวีเนีย |
โปรตุเกส |
3-2 (ต่อเวลา) |
สเปน |
รัสเซีย |
1-0 | คาซัคสถาน |
2022 รายละเอียด |
TBA |
ผลการแข่งขัน แบ่งตาม ประเทศ
[แก้]ทีม | ชนะเลิศ | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 |
---|---|---|---|---|
สเปน | 7 (1996*, 2001, 2005, 2007, 2010, 2012, 2016) | 1 (1999*) | 2 (2003, 2014) | |
อิตาลี | 2 (2003*, 2014) | 1 (2007) | 3 (1999, 2005, 2012) | 2 (1996, 2001) |
รัสเซีย | 1 (1999) | 5 (1996, 2005, 2012, 2014, 2016) | 2 (2001*, 2007) | |
โปรตุเกส | 1 (2018) | 1 (2010) | 2 (2007*, 2014) | |
ยูเครน | 2 (2001, 2003) | 1 (2005) | ||
เช็กเกีย | 2 (2003, 2010) | |||
เบลเยียม | 1 (1996) | |||
คาซัคสถาน | 1 (2016) | |||
อาเซอร์ไบจาน | 1 (2010) | |||
โครเอเชีย | 1 (2012*) | |||
เนเธอร์แลนด์ | 1 (1999) | |||
เซอร์เบีย | 1 (2016*) |
- * = เจ้าภาพ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "UEFA to revamp and expand futsal competitions". UEFA.com. 4 April 2017.