ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่าดัชนีน้ำตาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
wikidata interwiki
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ค่าดัชนีน้ำตาล''' (glycemic index, glycaemic index) หรือ '''GI''' เป็นหน่วยวัดผลของ[[คาร์โบไฮเดรต]]ต่อระดับน้ำตาลในเลือด คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างรวดเร็วในระหว่างการย่อยอาหาร ให้[[กลูโคส]]เข้าสู่[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]อย่างรวดเร็ว เรียกว่ามีค่า GI สูง; คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างช้าๆ ค่อยๆให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างสม่ำเสมอ เรียกว่ามีค่า GI ต่ำ สำหรับคนส่วนมาก [[อาหาร]]ที่มีค่า GI ต่ำมีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างยิ่ง แนวคิดที่พัฒนาโดย ดร. เดวิด เจ. เจนคินส์ (David J. Jenkins) และผู้ร่วมงาน<ref>DJ Jenkins ''et al.'' (1981). "Glycemic index of foods: a physiological basis for carbohydrate exchange." ''Am J Clin Nutr'' '''34'''; 362-366</ref> ในปี ค.ศ. 1980–1981 ที่[[มหาวิทยาลัยโทรอนโต]] ในงานวิจัยของเขาค้นพบว่าเป็นอาหารที่ดีที่สุดกับผู้ป่วย[[เบาหวาน]]
'''ค่าดัชนีน้ำตาล''' (glycemic index, glycaemic index) หรือ '''GI''' เป็นหน่วยวัดผลของ[[คาร์โบไฮเดรต]]ต่อระดับน้ำตาลในเลือด คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างรวดเร็วในระหว่างการย่อยอาหาร ให้[[กลูโคส]]เข้าสู่[[ระบบไหลเวียนโลหิต]]อย่างรวดเร็ว เรียกว่ามีค่า GI สูง; คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างช้าๆ ค่อยๆให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างสม่ำเสมอ เรียกว่ามีค่า GI ต่ำ สำหรับคนส่วนมาก [[อาหาร]]ที่มีค่า GI ต่ำมีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างยิ่ง แนวคิดที่พัฒนาโดย ดร. เดวิด เจ. เจนคินส์ (David J. Jenkins) และผู้ร่วมงาน<ref>DJ Jenkins ''et al.'' (1981). "Glycemic index of foods: a physiological basis for carbohydrate exchange." ''Am J Clin Nutr'' '''34'''; 362-366</ref> ในปี ค.ศ. 1980–1981 ที่[[มหาวิทยาลัยโทรอนโต]] ในงานวิจัยของเขาค้นพบว่าเป็นอาหารที่ดีที่สุดกับผู้ป่วย[[เบาหวาน]]


ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำแสดงให้เห็นถึงอัตราการย่อยอาหารและดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของอาหารที่ช้ากว่าและอาจแสดงถึงการสกัดสารจาก[[ตับ]]และขอบนอกของผลิตภัณฑ์ของการย่อยคาร์โบไฮเดรตที่ดีกว่าอีกด้วย ดัชนีน้ำตาลที่ต่ำกว่ามีผลถึงความต้องการอินซูลินที่ต่ำกว่า ([http://books.google.com/books?id=Ayg1YaZ2APAC&pg=PA108&dq=%22insulin+index%22#PPA109,M1 แต่ไม่เสมอไป]) และอาจควบคุมกลูโคสและของเหลวในเลือดในระยะยาวได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าอาหารที่บริโภคร่วมกับอาหารชนิดอื่นในแต่ละมื้อ จะมีผลต่ออัตราการย่อยและทำให้ Gl ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป<ref>[http://www.tistr-foodprocess.net/food_health/food_health4.htm ค่าดัชนีไกลเซมิก] วิภา สุโรจนะเมธากุล, สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ </ref> [[ค่าดัชนีอินซูลิน]]อาจสามารถใช้ได้ด้วยเหมือนกัน ซึ่งค่าดัชนีอินซูลินเป็นการวัดผลตอบสนองอินซูลินต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป
ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำแสดงให้เห็นถึงอัตราการย่อยอาหารและดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของอาหารที่ช้ากว่าและอาจแสดงถึงการสกัดสารจาก[[ตับ]]และขอบนอกของผลิตภัณฑ์ของการย่อยคาร์โบไฮเดรตที่ดีกว่าอีกด้วย ดัชนีน้ำตาลที่ต่ำกว่ามีผลถึงความต้องการอินซูลินที่ต่ำกว่า ([http://books.google.com/books?id=Ayg1YaZ2APAC&pg=PA108&dq=%22insulin+index%22#PPA109,M1 แต่ไม่เสมอไป]) และอาจควบคุมกลูโคสและของเหลวในเลือดในระยะยาวได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าอาหารที่บริโภคร่วมกับอาหารชนิดอื่นในแต่ละมื้อ จะมีผลต่ออัตราการย่อยและทำให้ Gl ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป<ref>[http://www.tistr-foodprocess.net/food_health/food_health4.htm ค่าดัชนีไกลเซมิก] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090106000221/http://www.tistr-foodprocess.net/food_health/food_health4.htm |date=2009-01-06 }} วิภา สุโรจนะเมธากุล, สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</ref> [[ค่าดัชนีอินซูลิน]]อาจสามารถใช้ได้ด้วยเหมือนกัน ซึ่งค่าดัชนีอินซูลินเป็นการวัดผลตอบสนองอินซูลินต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป
[[ไฟล์:Glycemic.png|right|thumb|350px|ผลของกลูโคสในเลือด ค่าดัชนีน้ำตาลสูงเปรียบเทียบกับค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ]]
[[ไฟล์:Glycemic.png|right|thumb|350px|ผลของกลูโคสในเลือด ค่าดัชนีน้ำตาลสูงเปรียบเทียบกับค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ]]



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:42, 8 กันยายน 2564

ค่าดัชนีน้ำตาล (glycemic index, glycaemic index) หรือ GI เป็นหน่วยวัดผลของคาร์โบไฮเดรตต่อระดับน้ำตาลในเลือด คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างรวดเร็วในระหว่างการย่อยอาหาร ให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างรวดเร็ว เรียกว่ามีค่า GI สูง; คาร์โบไฮเดรตจะแตกตัวอย่างช้าๆ ค่อยๆให้กลูโคสเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตอย่างสม่ำเสมอ เรียกว่ามีค่า GI ต่ำ สำหรับคนส่วนมาก อาหารที่มีค่า GI ต่ำมีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างยิ่ง แนวคิดที่พัฒนาโดย ดร. เดวิด เจ. เจนคินส์ (David J. Jenkins) และผู้ร่วมงาน[1] ในปี ค.ศ. 1980–1981 ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต ในงานวิจัยของเขาค้นพบว่าเป็นอาหารที่ดีที่สุดกับผู้ป่วยเบาหวาน

ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำแสดงให้เห็นถึงอัตราการย่อยอาหารและดูดซึมคาร์โบไฮเดรตของอาหารที่ช้ากว่าและอาจแสดงถึงการสกัดสารจากตับและขอบนอกของผลิตภัณฑ์ของการย่อยคาร์โบไฮเดรตที่ดีกว่าอีกด้วย ดัชนีน้ำตาลที่ต่ำกว่ามีผลถึงความต้องการอินซูลินที่ต่ำกว่า (แต่ไม่เสมอไป) และอาจควบคุมกลูโคสและของเหลวในเลือดในระยะยาวได้ดีขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าอาหารที่บริโภคร่วมกับอาหารชนิดอื่นในแต่ละมื้อ จะมีผลต่ออัตราการย่อยและทำให้ Gl ดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป[2] ค่าดัชนีอินซูลินอาจสามารถใช้ได้ด้วยเหมือนกัน ซึ่งค่าดัชนีอินซูลินเป็นการวัดผลตอบสนองอินซูลินต่ออาหารที่รับประทานเข้าไป

ผลของกลูโคสในเลือด ค่าดัชนีน้ำตาลสูงเปรียบเทียบกับค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ

ค่าดัชนีน้ำตาลของอาหารถูกกำหนดตามพื้นที่ใต้เส้นโค้งผลตอบสนองกลูโคสในเลือดในเวลาสองชั่วโมง(AUC) ตามการรับประทานส่วนของคาร์โบไฮเดรตที่กำหนด (ทั่วไป 50 ก.) AUC ของอาหารที่นำมาทดสอบจะถูกหารโดย AUC ของอาหารมาตรฐาน (ใช้กลูโคสหรือขนมปังขาวซึ่งผลที่ได้จะได้ค่าที่ต่างกัน) และคูณด้วย 100 ค่าเฉลี่ย GI ถูกคำนวณจากข้อมูลที่เก็บมาจากคน 10 คน ทั้งอาหารมาตรฐานและอาหารที่ทดสอบที่ใช้ต้องมีคาร์โบไฮเดรตเท่ากัน และผลที่ได้ก็จะให้ระดับที่สัมพันธ์กันในอาหารทดสอบแต่ละชนิด[3]

วิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้ใช้กลูโคสเป็นอาหารอ้างอิง และให้กำหนดค่าดัชนีน้ำตาลของกลูโคสเป็น 100 เป็นการเริ่มต้นให้เป็นสากลที่ดีและทำให้ค่า GI สูงสุดมีค่าประมาณ 100 นอกจากนี้ ขนมปังขาวยังสามารถใช้เป็นอาหารอ้างอิงได้อีกด้วยแต่ให้ค่า GI ที่แตกต่างออกไป (ขนมปังขาว = 100, กลูโคส ? 140) สำหรับคนที่มีแหล่งคาร์โบไฮเดรตหลักเป็นขนมปังขาวซึ่งมีประโยชน์โดยตรงในการเปลี่ยนของการแทนที่ของอาหารหลักด้วยอาหารที่แตกต่างเป็นผลต่อผลตอบสนองกลูโคสในเลือดเร็วหรือช้ากว่า ข้อบกพร่องของระบบนี้คืออาหารอ้างอิงไม่ระบุไว้ชัดเจนและมาตราส่วน GI ขึ้นกับวัฒนธรรม


อ้างอิง[แก้]

  1. DJ Jenkins et al. (1981). "Glycemic index of foods: a physiological basis for carbohydrate exchange." Am J Clin Nutr 34; 362-366
  2. ค่าดัชนีไกลเซมิก เก็บถาวร 2009-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน วิภา สุโรจนะเมธากุล, สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  3. Brouns et al. (2005). "Glycaemic index methodology." Nutrition Research Reviews 18; 145-171